ReadyPlanet.com
dot
dot dot
bulletBUDDHISM TO THE NEW WORLD ERA
bullet1 Thai-ไทย
bullet2.English-อังกฤษ
bullet3.China-จีน
bullet4.Hindi-อินเดีย
bullet5.Russia-รัสเซีย
bullet6.Arab-อาหรับ
bullet7.Indonesia-อินโดนีเซีย
bullet8.Japan-ญี่ปุ่น
bullet9.Italy-อิตาลี
bullet10.France-ฝรั่งเศส
bullet11.Germany-เยอรมัน
bullet12.Africa-อาฟริกา
bullet13.Azerbaijan-อาเซอร์ไบจัน
bullet14.Bosnian-บอสเนีย
bullet15.Cambodia-เขมร
bullet16.Finland-ฟินแลนด์
bullet17.Greek-กรีก
bullet18.Hebrew-ฮีบรู
bullet19.Hungary-ฮังการี
bullet20.Iceland-ไอซ์แลนด์
bullet21.Ireland-ไอร์แลนด์
bullet22.Java-ชวา
bullet23.Korea-เกาหลี
bullet24.Latin-ละติน
bullet25.Loa-ลาว
bullet26.Finland-ฟินแลนด์
bullet27.Malaysia-มาเลย์
bullet28.Mongolia-มองโกเลีย
bullet29.Nepal-เนปาล
bullet30.Norway-นอรเวย์
bullet31.persian-เปอร์เซีย
bullet32.โปแลนด์-Poland
bullet33.Portugal- โปตุเกตุ
bullet34.Romania-โรมาเนีย
bullet35.Serbian-เซอร์เบีย
bullet36.Spain-สเปน
bullet37.Srilanga-สิงหล,ศรีลังกา
bullet38.Sweden-สวีเดน
bullet39.Tamil-ทมิฬ
bullet40.Turkey-ตุรกี
bullet41.Ukrain-ยูเครน
bullet42.Uzbekistan-อุสเบกิสถาน
bullet43.Vietnam-เวียดนาม
bullet44.Mynma-พม่า
bullet45.Galicia กาลิเซียน
bullet46.Kazakh คาซัค
bullet47.Kurdish เคิร์ด
bullet48. Croatian โครเอเซีย
bullet49.Czech เช็ก
bullet50.Samoa ซามัว
bullet51.Nederlands ดัตช์
bullet52 Turkmen เติร์กเมน
bullet53.PunJabi ปัญจาบ
bullet54.Hmong ม้ง
bullet55.Macedonian มาซิโดเนีย
bullet56.Malagasy มาลากาซี
bullet57.Latvian ลัตเวีย
bullet58.Lithuanian ลิทัวเนีย
bullet59.Wales เวลล์
bullet60.Sloveniana สโลวัค
bullet61.Sindhi สินธี
bullet62.Estonia เอสโทเนีย
bullet63. Hawaiian ฮาวาย
bullet64.Philippines ฟิลิปปินส์
bullet65.Gongni-กงกนี
bullet66.Guarani-กวารานี
bullet67.Kanada-กันนาดา
bullet68.Gaelic Scots-เกลิกสกอต
bullet69.Crio-คริโอ
bullet70.Corsica-คอร์สิกา
bullet71.คาตาลัน
bullet72.Kinya Rwanda-คินยารวันดา
bullet73.Kirkish-คีร์กิช
bullet74.Gujarat-คุชราด
bullet75.Quesua-เคซัว
bullet76.Kurdish Kurmansi)-เคิร์ด(กุรมันซี)
bullet77.Kosa-โคซา
bullet78.Georgia-จอร์เจีย
bullet79.Chinese(Simplified)-จีน(ตัวย่อ)
bullet80.Chicheva-ชิเชวา
bullet81.Sona-โซนา
bullet82.Tsonga-ซองกา
bullet83.Cebuano-ซีบัวโน
bullet84.Shunda-ชุนดา
bullet85.Zulu-ซูลู
bullet86.Sesotho-เซโซโท
bullet87.NorthernSaizotho-ไซโซโทเหนือ
bullet88.Somali-โซมาลี
bullet89.History-ประวัติศาสตร์
bullet90.Divehi-ดิเวฮิ
bullet91.Denmark-เดนมาร์ก
bullet92.Dogry-โดกรี
bullet93.Telugu-เตลูกู
bullet94.bis-ทวิ
bullet95.Tajik-ทาจิก
bullet96.Tatar-ทาทาร์
bullet97.Tigrinya-ทีกรินยา
bullet98.Check-เชค
bullet99.Mambara-มัมบารา
bullet100.Bulgaria-บัลแกเรีย
bullet101.Basque-บาสก์
bullet102.Bengal-เบงกอล
bullet103.Belarus-เบลารุส
bullet104.Pashto-พาชตู
bullet105.Fritian-ฟริเชียน
bullet106.Bhojpuri-โภชปุรี
bullet107.Manipur(Manifuri)-มณีปุระ(มณิฟูรี)
bullet108.Maltese-มัลทีส
bullet109.Marathi-มาราฐี
bullet110.Malayalum-มาลายาลัม
bullet111.Micho-มิโช
bullet112.Maori-เมารี
bullet113.Maithili-ไมถิลี
bullet114.Yidsdish-ยิดดิช
bullet115.Euroba-ยูโรบา
bullet116.Lingala-ลิงกาลา
bullet118.Slovenia-สโลวีเนีย
bullet119.Swahili-สวาฮิลี
bullet120.Sanskrit-สันสกฤต
bullet121.history107-history107
bullet122.Amharic-อัมฮาริก
bullet123.Assam-อัสสัม
bullet124.Armenia-อาร์เมเนีย
bullet125.Igbo-อิกโบ
bullet126.History115-ประวัติ 115
bullet127.history117-ประวัติ117
bullet128.Ilogano-อีโลกาโน
bullet129.Eve-อีเว
bullet130.Uighur-อุยกูร์
bullet131.Uradu-อูรดู
bullet132.Esperanto-เอสเปอแรนโต
bullet133.Albania-แอลเบเนีย
bullet134.Odia(Oriya)-โอเดีย(โอริยา)
bullet135.Oromo-โอโรโม
bullet136.Omara-โอมารา
bullet137.Huasha-ฮัวซา
bullet138.Haitian Creole-เฮติครีโอล
bulletคำบูชาพระรัตนตรัย ทำวัตรแปล เช้า-เย็น
bulletChart Showing the Process
bulletบุคคลแห่งปีของหนังสือพิมพ์ดี พ.ศ.2540 - 2566
bulletบุคคลแห่งปีของหนังสือพิมพ์ดี 1
bulletบุคคลแห่งปีของหนังสือพิมพ์ดี 2
bulletบุคคลแห่งปีของหนังสือพิมพ์ดี บุคคลที่ 1 - 188 ปัจจุบัน
bulletหนังสือพิมพ์ดี
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 1
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 2
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 3
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 4
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 5
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 6
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 7
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 8
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 9
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 10
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 11
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 12
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 13
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 14
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 15
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 16
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 17
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 18
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 19
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 20
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 21
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 22
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 23
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 24
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 25
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 26
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 27
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 28
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 29
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 30
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 31
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 32
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 33
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 34
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 35
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 36
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 37
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 38
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 39
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 40
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 41
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 42
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 43
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 44
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 45
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 46
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 47
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 48
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 49
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 50
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 51
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 52
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 53
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 54
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 55
bulletหนังสือพิมพ์ดีเล่มที่ 56
bulletหนังสือพิมพ์ดีเล่มที 57
bulletหนังสือพิมพ์ดีเล่มที 58
bulletหนังสือพิมพ์ดีเล่มที 59
bulletTo The World
bulletENGLISH
bulletUSA
bulletChina
bulletIndia
bullet Mynmar
bullet Cambodia
bullet Loas
bulletSri Lanka
bulletMalaysia
bulletKorea
bulletA Sharp Turn of Believes : Iresearch Iwrite Iread
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 1
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 2
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 3
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 4
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 5
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 6
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 7
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 8
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 9
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 10
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 11
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 12
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 13
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 14
bulletMystery Report 15
bulletMystery Report 16
bulletMystery Report 17
bulletMystery Report 18
bulletMystery Report 19
bulletMystery Report 20
bulletMystery Report 21
bulletMystery Report 22
bulletMystery Report 23
bulletMystery Report 24
bulletMystery World Report 25
bulletศึกษาโลกลี้ลับ 26
bulletเฝ้าดูวัฒนธรรมโลกจากจอแก้ว วิเคราะห์ทุกปัญหาในโลกมนุษย์ด้วยสติปัญญาและเหตุผลวิทยาศาสตร์จากนสพ.ดี
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2536
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2537
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2538
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2539
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2540
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2541
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2542
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2543-2545
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2545-2549
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2549-2550
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2550-ส.ค.2551
bulletเฝ้าดูฯ ส.ค.-ก.ย.2551
bulletเฝ้าดูฯ ก.ย.2551- ธ.ค. 2551
bulletเฝ้าดูฯสำนวนพัชรา กอปรทศธรรม
bulletสำนวนพัชราตอนที่ 16-27
bulletสำนวนพัชราตอนที่ 29
bulletบทความใหม่ เม.ย.-พ.ค.2552
bulletพุทธธรรมเพื่อทางดับทุกข์
bulletทฤษฎีการดับทุกข์ทางจิต วิปัสสนากรรมฐานโดยการทำงาน(สำนวนปรับปรุงใหม่)
bulletประวัติพัชรา กอปรทศธรรม
bulletประวัติการต่อสู้เพื่อการดับทุกข์ ของพัชรา กอปรทศธรรม
bulletอัลบั้มรูป history
bulletนิทานธรรมะประยุกต์ มานุสสาสุระสงคราม 4 ภาค และอื่น ๆ
bulletอัลบั้มรูป ภาพในอดีตและชีวประวัติศาสตร์ที่สวยงาม
bulletจากเวบบอร์ด พูดกันไม่รู้เรื่อง ประชาธิปไตยล้าหลัง
bulletศาสนาสากล การวิเคราะห์ความหมาย
bulletปลอบใจ
dot
รวมบทวิเคราะห์กม.คณะสงฆ์ แนวปฏิรูปคณะสงฆ์อยู่ในบทวิเคราะห์นี้แล้ว
dot
bulletรวมบทวิเคราะห์กม.คณะสงฆ์
dot
สากลจักรวาล สากลศาสนา แนวคิดศาสนาสำหรับคนยุคใหม่ ผู้ก้าวผิดทางไปสู่สิ่งไร้สาระโดยไม่รู้ตัว
dot
bulletสากล...ศาสนา 1
bulletสากล...ศาสนา 2
bulletสากล...ศาสนา 3
bulletสากล...ศาสนา 4
bulletสากล...ศาสนา 5
bulletสากล...ศาสนา 6
bulletสากล...ศาสนา 7
bulletสากล...ศาสนา 9
bulletสากล...ศาสนา 8
bulletสากล...ศาสนา 10
bulletสากล...ศาสนา 11
bulletสากล...ศาสนา 12
bulletสากล...ศาสนา 13
bulletสากล...ศาสนา 14
bulletสากล...ศาสนา 16
dot
ส่วนข้อมูลสำคัญเพื่อการวิจัยการเมืองไทยยุค คมช.-รัฐบาลอภิสิทธิ์
dot
bulletข้อมูลสำคัญยุคคมช.-รัฐบาลอภิสิทธิ์
bulletรายงานสดม็อบสนธิ-จำลอง-ปชป.เป่านกหวีดวันที่1/26ส.ค.2551
bulletรายงานสดม็อบสนธิ-จำลอง-ปชป.เป่านกหวีดวันที่2/27ส.ค.2551
bulletใบปลิว อีเมล์ ในหลวงทรงร้องไห้
bulletข่าวการเมืองแฟ้ม 1
bulletในหลวงเพิ่งทราบข่าวฆ่าประชาชน10เมย.53ทรงร้องไห้
bulletบันทึกลับเสื้อแดงผู้รอดชีวิตจากทำเนียบรัฐบาล
bulletบันทึกลับเสื้อแดงผู้รอดชีวิตจากทำเนียบรัฐบาล
dot
รวมข่าวม็อบการเมืองสนธิ-จำลอง-ปชป.มิ.ย.51-เม.ย.52 นสพ.
dot
bulletข่าวการเมืองแฟ้ม 2
bulletข่าวการเมืองแฟ้ม 3
bulletรวมข่าวม็อบ30มิ.ย.51-23มี.ค.52
bulletเลือดศรีสะเกษบันทึกเรื่องราวรอบด้านเกี่ยวกับเขาพระวิหาร
bulletรายงานการโฆษณาชวนเชื่อในประเทศไทยที่ล้มล้างรัฐบาลทักษิณ
bulletหนังสือพิมพ์ดี ของฟรีให้เปล่ามา20ปีแล้วทั้งเอกสารและอินเทอเนท
bulletหนังสือพิมพ์ดี ( อินเทอเนต ) เล่ม 1 - 44 - ล่าสุด
bulletหน้าที่เก็บไว้
bulletมูลนิธิพระเทพวรมุนี(เสน ปญฺญาวชิโร)
bulletวัดมหาพุทธาราม ศรีสะเกษ บันทึกเหตุการณ์
bulletสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดศรีสะเกษแห่งที่ 1
bulletเกี่ยวกับเวบไซต์ของเรา เราทำเพื่อปัญญาชนโดยแท้
bulletรวมกระทู้เด็ดจากกระดานถามตอบ
bulletคาถาอาคมไสยศาสตร์
bulletกวีนิพนธ์ใหม่
bulletศูนย์ปฏิญญาณละเลิกอบายมุข บัญชีที่ 1- 4


บทที่ 1

1

บทที่ 1

บทนำ

ความเป็นมาและความสำคัญของการประเมิน

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ได้พระราชทานพระบรมราโชวาทแก่พุทธสมาคมแห่งประเทศไทย ( ทิศนา แขมมณี. 2546 : 3 ) ความว่า “โลกปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว เป็นโลกที่ไร้พรหมแดน มีการสื่อสารความรู้ ข้อมูลข่าวสารอย่างไร้ขีดจำกัด การแข่งขันกันพัฒนาทางด้านอุตสาหกรรมวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีรวมทั้งการแข่งขันทางด้านการค้า มีค่านิยมทางวัตถุสูงมาก เกิดการเอารัดเอาเปรียบซึ่งกันและกัน มุ่งแสวงหาผลประโยชน์ให้กับตนเองและพรรคพวกมากว่าส่วนรวม ความเปลี่ยนแปลงอย่างหนึ่งที่น่าวิตกคือ ทุกวันนี้ความคิดความอ่านและความประพฤติหลาย ๆ อย่างซึ่งแต่ก่อนถือว่าเป็นความชั่ว ความผิด ได้กลายเป็นสิ่งที่สังคมยอมรับ แล้วพากันปฏิบัติอย่างไม่สะดุ้งสะเทือน จนทำให้เกิดปัญหาและทำให้วิถีชีวิตของแต่ละคนมืดมนไป หน้าที่ของชาวพุทธจะต้องร่วมกันแก้ปัญหาอย่างจริงจัง…’’ ซึ่งการขาดการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมอย่างต่อเนื่อง ทำให้ภาวะขาดสมดุลทั้งทางจิตใจ และวัตถุอันเป็นสาเหตุที่ทำให้สังคมไทยคล้อยตามกระแสวิวัฒน์ของโลก ส่งผลให้การดำเนินชีวิตขาดการคิดสังเคราะห์ ( แผนการศึกษาแห่งชาติ, 2545 – 2549 : 16 ) ปัญหาด้านศีลธรรมที่สำคัญได้แก่ ปัญหาการเสพสุรามึนเมาและสิ่งเสพติด ปัญหาทางเพศ เช่น การข่มขืนล่อลวง ปัญหาโสเภณี ปัญหาเกี่ยวกับทรัพย์สิน เช่น การคอรัปชั่น การว่างงาน ปัญหาเกี่ยวกับการพนัน การมั่วสุมในสถานเริงรมย์ต่าง ๆ ปัญหาเหล่านี้ส่งผลต่อด้านจิตใจ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ปัญหาเหล่านี้ล้วนเป็นปัญหาที่เป็นผลพวงของการพัฒนาทางด้านวัตถุอย่างขาดความสมดุลกับการพัฒนาทางด้านจิตใจทั้งสิ้น (ทิศนา แขมณี, 2546 : 2 ) ปัญหาเหล่านี้สะท้อนเห็นถึงความสื่อโทรมของสังคมซึ่งท่านพุทธทาส อินทปัญโญ( 2541 :28 -115 ) เรียกว่า ‘‘เป็นภาวะจิตทรามในอารยธรรมใหม่’’ จากเหตุการณ์ในสังคมปัจจุบันจะเห็นได้ว่า ปัญหาเกิดขึ้นไม่เว้นแต่ละวันล้วนมาจากการขาดคุณธรรม จริยธรรมทั้งสิ้น พฤติกรรมของบุคคลในสังคมโน้มเอียงไปในทางมักง่ายตามใจตน ละเมิดกฎระเบียบ หย่อนยานในความรับผิดชอบเพิ่มขึ้น เพราะการศึกษาพัฒนาการแข่งขันความรู้ด้านวิชาการมากกว่าปลูกฝังระเบียบวินัยและคุณธรรมให้แก่บุคคล สถาบันต่าง ๆ

ในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน ด้านคุณธรรม 8 ประการ สถานศึกษา ครู มีอิทธิพลต่อการสร้างคุณธรรมจริยธรรม อย่างมาก โดยเฉพาะทั้งต้านการเป็นแบบอย่าง การอบรมสั่งสอน

2

พฤติกรรมการสอนของครู การจัดบรรยากาศกิจกรรมการเรียนการสอนและการติดตามการปฏิบัติตนของนักเรียน มีความสัมพันธ์กันกับการแสดงออกเชิงคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียน เด็กจะเชื่อฟังครูมากกว่าบิดามารดาของตนเอง นอกจากนี้ยังชอบเลียนแบบพฤติกรรมของครูที่เขาชื่นชอบ การมีส่วนร่วมในการสร้างแรงจูงใจด้านการแสดงออกที่พึงประสงค์ จึงจำเป็นต้องใช้กิจกรรม อย่างหลากหลายในการจูงใจ

เป็นที่ยอมรับกันว่า การศึกษาเป็นกระบวนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่สำคัญที่สุดเพราะการศึกษาเป็นการสร้างองค์ความรู้แบบยั่งยืน ช่วยกำจัดความไม่รู้ ขจัดความยากจน สร้างทักษะชีวิตทำให้ครอบครัวและชุมชนเข้มแข็ง ช่วยรักษาวัฒนธรรม ประเพณีและสิ่งแวดล้อมให้ดำรงอยู่ ประเทศชาติจะพัฒนาให้มีความเจริญรุ่งเรืองทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองไม่ได้เลย ถ้าหากประชากรของประเทศขาดการพัฒนาด้านการศึกษา ดังความเห็นของพระพรหมคุณาภรณ์เมื่อครั้งยังดำรงสมณศักดิ์เป็นพระธรรมปิฎก (..ปยุตฺโต) ได้กล่าวถึงความสำคัญของการศึกษาไว้ว่า การศึกษาเป็นกระบวนการพัฒนามนุษย์ ซึ่งอาจมองได้สองทาง คือ ในแง่ของทฤษฏีตะวันตกจะมองมนุษย์ในฐานะทรัพยากร คือ มองมนุษย์ว่าเป็นทุนเป็นปัจจัยเพื่อนำมาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แต่ถ้ามองในแง่พระพุทธศาสนาแล้วจะมองมนุษย์ในฐานะที่เป็นคนมีศักดิ์ศรี มีชีวิต มีจุดมุ่งหมายของชีวิต มีความสุข มีอิสรภาพ มีความดีงามในชีวิต ( พระธรรมปิฎก[ ..ปยุตฺโต ], 2542 : 3 ) ซึ่งสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ( ฉบับที่ 2 ) พุทธศักราช 2545 ที่ได้กำหนดไว้ว่า การศึกษาเป็นเครื่องมือสำคัญในการพัฒนามนุษย์เพื่อพัฒนาประเทศ ซึ่งเป็นรากฐานสำคัญที่สุดในการสร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้า และแก้ปัญหาต่าง ๆ ในสังคม การศึกษาจึงเป็นกระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุค และสังคมโดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึกอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม

นอกจากนี้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับดังกล่าวได้กำหนดความมุ่งหมายและหลักการในการจัดการศึกษาไว้ในมาตรา 6 ความว่าการจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข และกำหนดแนวการจัดการศึกษาไว้ในมาตรา 22 ความว่า การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มศักยภาพ การจัดการศึกษาต้องเน้นความรู้คู่คุณธรรม เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นคนดี เก่ง และมีความสุข อันเป็นคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของการปฏิรูปการศึกษาไทย

เนื่องจากการศึกษามีความสำคัญดังกล่าว รัฐบาลจึงได้พยายามพัฒนาปรับปรุงระบบการศึกษาตลอดมา ซึ่งเป็นที่มาของการปฏิรูปการศึกษา แต่ถึงกระนั้นการพัฒนาการศึกษาในปัจจุบัน

3

ก็ยังไม่สมบูรณ์ เพราะกระบวนการจัดการศึกษาที่เน้นกระบวนการทางพุทธิศึกษามากกว่าด้านคุณธรรมจริยธรรม

จากเหตุผลดังกล่าวเป็นเครื่องชี้ให้เห็นความสำคัญของการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม โดยเฉพาะคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ ที่มีต่อการพัฒนาคน ซึ่งมีผลต่อไปถึงการพัฒนาประเทศในที่สุด เพราะคุณธรรมจริยธรรมเป็นรากฐานของความเจริญแบบสันติสุขทั้งส่วนตนและส่วนรวม

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 พุทธศักราช 2550 – 2554 ( ธีระพล อรุณกสิกรและคณะ, 2550 : 28-36 ) ได้กล่าวถึงวิสัยทัศน์ประเทศไทย มุ่งพัฒนาสู่ ‘‘ สังคมอยู่เย็นเป็นสุข ( Green and Happiness Society ) คนไทยมีคุณธรรมนำความรู้ รู้เท่าทันโลก ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง สังคมสันติสุข เศรษฐกิจมีคุณภาพ เสถียรภาพและเป็นธรรม” นอกจากนั้นยังได้กำหนดไว้ในพันธกิจ ข้อที่ 1 กล่าวว่า พัฒนาคนให้มีคุณภาพ คุณธรรมนำความรู้ รู้อย่างเท่าทัน มีสุขภาพที่ดี อยู่ในครอบครัวที่อบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง พึ่งตนเองได้ มีความมั่นคงในการดำรงชีวิตอย่างมีศักดิ์ศรีภายใต้ดุลยภาพของความหลากหลายทางวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จากวิสัยทัศน์และพันธกิจ การพัฒนาประเทศไทยตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 มุ่งให้คนมีคุณธรรม ในขณะเดียวกันสังคมไทย โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนหย่อนยานต่อการปฏิบัติตนให้เป็นไปตามคุณลักษณะที่พึงประสงค์ด้านคุณธรรม จริยธรรม

จากปัญหาดังกล่าว โรงเรียนบ้านไสส้าน อำเภอทุ่งสง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาการศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาด้านคุณธรรมจริยธรรม คุณธรรม 8 ประการ

อนึ่ง จากการรายงานคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนบ้านไสส้าน ปีการศึกษา 2549 ( SAR ) เปรียบเทียบกับปีการศึกษา 2548 มาตรฐานด้านผู้เรียน มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม เปรียบเทียบรายตัวบ่งชี้ มีข้อเปรียบเทียบ ดังนี้

ตารางที่ 1 เปรียบเทียบการประเมินมาตรฐานด้านผู้เรียน มาตรฐานที่ 1 ปีการศึกษา 2548 - 2549
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้

 

ผลการประเมิน ระดับคุณภาพ / ร้อยละ

มาตรฐาน / ตัวบ่งชี้

ปีการศึกษา 2548

ปีการศึกษา 2549

ผลต่าง

มาตรฐานด้านผู้เรียน

มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม

ตัวบ่งชี้ที่ 1 มีวินัย มีความรับผิดชอบ

3

79 / 2

- 1

4

ตารางที่ 1 เปรียบเทียบการประเมินมาตรฐานด้านผู้เรียน มาตรฐานที่1 ปีการศึกษา 2548 -2549 (ต่อ)

ผลการประเมิน ระดับคุณภาพ / ร้อยละ

มาตรฐาน / ตัวบ่งชี้

ปีการศึกษา 2548

ปีการศึกษา 2549

ผลต่าง

ตัวบ่งชี้ที่ 2 มีความซื่อสัตย์สุจริต

3

85 / 3

-

ตัวบ่งชี้ที่ 3 มีความกตัญญูกตเวที

3

85 / 3

-

ตัวบ่งชี้ที่ 4 มีความเมตตากรุณา

3

80 / 3

-

ตัวบ่งชี้ที่ 5 ประหยัด

3

80 / 3

-

ตัวบ่งชี้ที่ 6 มีมารยาท

3

75 / 2

-1

ตัวบ่งชี้ที่ 7 ร่วมกิจกรรมประเพณีชุมชน

3

85 / 3

-

จากตารางเปรียบเทียบการประเมินมาตรฐานด้านผู้เรียน มาตรฐานที่ 1 ราย ตัวบ่งชี้ ปีการศึกษา 2548 - ปีการศึกษา 2549 พบว่า ร้อยละ / คุณภาพด้านคุณธรรม จริยธรรม จากการประเมินปีการศึกษา 2549 ลดลงจากปีการศึกษา 2548 ( โรงเรียนบ้านไสส้าน, 2549 : 23 )

นอกจากผลการประเมิน มาตรฐานด้านผู้เรียน รายงานคุณภาพการศึกษา ( SAR ) เปรียบเทียบกับปีการศึกษา 2548 – 2549 แล้ว ผลจากการวิเคราะห์ Swot เพื่อจัดทำแผนพัฒนาการศึกษา ยังพบว่า นักเรียนโรงเรียนบ้านไสส้าน มีจุดด้อยในเรื่องคุณธรรม จริยธรรม โดยเฉพาะคุณธรรม ด้าน การประหยัด ความซื่อสัตย์ การมีวินัย ความสุภาพ ความสะอาด ความสามัคคี ความมีน้ำใจ ค่อนข้างน้อย นอกจากนั้นยังพบว่าครูบางส่วนยังจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมน้อย อีกทั้ง ครูบางส่วนไม่ให้ความสำคัญของคุณธรรมจริยธรรม

( โรงเรียนบ้านไสส้าน, 2548 : 12 )

จากผลการประเมินและผลการวิเคราะห์ SWOT โรงเรียนบ้านไสส้าน อำเภอทุ่งสง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 จึงได้ดำเนินการจัดทำโครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน ด้านคุณธรรม 8 ประการ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เป็นผู้ที่มีคุณธรรมจริยธรรม มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ คือ รู้จักประหยัด มีความซื่อสัตย์ มีวินัย มีความสุภาพ รักความสะอาด มีความสามัคคีในหมู่คณะ มีน้ำใจต่อผู้อื่น มีจิตสาธารณะ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน โดยได้ประเมินความก้าวหน้า รวมทั้งศึกษาปัญหา และอุปสรรคในการดำเนินโครงการเป็นระยะตลอดมา

ด้วยเหตุผลและความสำคัญดังกล่าว ผู้ประเมินจึงได้ดำเนินการประเมินโครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน ด้านคุณธรรม 8 ประการ เพื่อต้องการทราบบริบทหรือสภาพแวดล้อม

5

ใดบ้างที่เป็นปัญหา หรืออุปสรรคต่อการดำเนินโครงการ ปัญหาด้านปัจจัย กระบวนการ รวมทั้งผลผลิตที่มีผลกระทบต่อการดำเนินโครงการ ทั้งนี้เพื่อนำผลจากการประเมินไปเป็นข้อมูลในการแก้ปัญหาและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของเด็กและเยาวชนต่อไป

วัตถุประสงค์ของการประเมิน

เพื่อให้สอดคล้องกับปัญหาและความสำคัญของการประเมนโครงการที่กล่าวมาข้างต้น ผู้ประเมินจึงกำหนดวัตถุประสงค์สำหรับการประเมินโครงการครั้งนี้ ดังนี้

1. เพื่อประเมินบริบทของโครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน ด้านคุณธรรม 8

ประการของนักเรียน

2. เพื่อประเมินปัจจัยในการดำเนินงานของโครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน ด้าน

คุณธรรม 8 ประการของนักเรียน

3. เพื่อประเมินกระบวนการของโครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน ด้านคุณธรรม

8 ประการของนักเรียน

4. เพื่อประเมินผลผลิตของโครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน ด้านคุณธรรม 8

ประการของนักเรียน

4.1 เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่แสดงออกเชิงคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียน ด้านคุณธรรม 8 ประการ

4.2 เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษาต่อพฤติกรรม

การแสดงออกเชิงคุณธรรมจริยธรรม ด้านคุณธรรม 8 ประการของนักเรียน

4.3 เพื่อประเมินความพึงพอใจของครู ต่อพฤติกรรมการแสดงออกเชิงคุณธรรมจริยธรรม ด้านคุณธรรม 8 ประการของนักเรียน

ความสำคัญของการประเมิน

การประเมินโครงการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน ของโรงเรียนบ้านไสส้าน อำเภอทุ่งสง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการประเมินโครงการ ดังนี้

1. ได้ข้อมูลพื้นฐานและสารสนเทศในการนำไปใช้ในการจัดทำแผนงาน โครงการและกิจกรรมพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน ในปีต่อไป

2. ใช้เป็นเอกสารให้ผู้บริหารสถานศึกษา ครู ได้ทราบถึงผลการประเมินโครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน ด้านคุณธรรม 8 ประการ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการประเมินโครงการอื่น ๆ

6

3. ผู้รับผิดชอบโครงการ ครู ได้มีแนวทางในการจัดทำโครงการและประเมินโครงการในงานบริหารวิชาการ งานบริหารกิจการนักเรียนและชุมชนสัมพันธ์ และด้านอื่น ๆ

4. ครูได้มีแนวทางในการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมตามแนวการปฏิรูป ทั้งอุปสรรคและสิ่งที่ส่งเสริมการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน

5. นักเรียนมีความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการแสดงออกเชิงคุณธรรมจริยธรรม ด้านคุณธรรม 8 ประการ และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ปฏิบัติตนอยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างมีความสุข

6. เพื่อใช้เป็นแนวทางสำหรับการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียนต่อไป

ขอบเขตการประเมิน

การประเมินในครั้งนี้มีขอบเขตการประเมินดังต่อไปนี้

1. เป็นการประเมินโครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน ด้านคุณธรรม 8 ประการ ของนักเรียน โรงเรียนบ้านไสส้าน อำเภอทุ่งสง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 ในปีการศึกษา 2550

2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

ประชากรที่ใช้ในการประเมินครั้งนี้มีจำนวนทั้งสิ้น 295 คน ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 7 คน ผู้รับผิดชอบโครงการและครูจำนวน 16 คน นักเรียนช่วงชั้นที่ 2 นักเรียนช่วงชั้นที่ 3 จำนวน 172 คน ผู้ปกครองนักเรียน กรรมการสถานศึกษา จำนวน 100 คน

กลุ่มตัวอย่าง การประเมินโครงการครั้งนี้ ใช้ประชากรที่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้รับผิดชอบโครงการ ครู นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียนช่วงชันที่ 2 และ3 กรรมการสถานศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 223 คน ดังนี้

2.1 ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 คน

2.2 ผู้รับผิดชอบโครงการ ครู จำนวน 16 คน

2.3 นักเรียนช่วงชั้นที่ 2 นักเรียนช่วงชั้นที่ 3 จำนวน 120 คน

2.4 ผู้ปกครองนักเรียน กรรมการสถานศึกษาจำนวน 80 คน

3. ประเด็นการประเมิน

ประเด็นการประเมิน ได้แก่ ประเด็นการประเมินโครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน 4 ประเด็น ดังนี้

3.1 ประเด็นบริบทของโครงการ

3.1.1 ระดับความจำเป็นของโครงการ

3.1.2 ระดับความเหมาะสมของโครงการ

3.1.3 ระดับความเป็นไปได้ของโครงการ

7

3.1.4 ระดับความเหมาะสมของกิจกรรม

3.2. ประเด็นปัจจัยของโครงการ

3.2.1 ระดับความเข้าใจในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคุณธรรมจริยธรรม ด้านคุณธรรม 8 ประการ

3.2.2 ระดับการปฏิบัติกระบวนการบริหารการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ด้านคุณธรรม 8 ประการ

3.2.3 ระดับความเหมาะสมของแผนงาน โครงการ

3.3 ประเด็นกระบวนการของโครงการ

3.3.1 ระดับความพึงพอใจต่อรูปแบบกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ด้านคุณธรรม 8 ประการ

3.3.2 ระดับความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ด้านคุณธรรม 8 ประการ

3.4 ประเด็นผลผลิตของโครงการ

3.4.1 ระดับความรู้เชิงคุณธรรมจริยธรรมด้านคุณธรรม 8 ประการของนักเรียน

3.4.2 ระดับทัศนคติและพฤติกรรมการแสดงออกเชิงคุณธรรมจริยธรรมด้านคุณธรรม 8 ประการของนักเรียน

3.4.3 ระดับความพึงพอใจของผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษาต่อพฤติกรรมการแสดงออกเชิงคุณธรรมจริยธรรม ด้านคุณธรรม 8 ประการของนักเรียน

3.4.4 ระดับความพึงพอใจของครูต่อพฤติกรรมการแสดงออกเชิงคุณธรรมจริยธรรมด้านคุณธรรม 8 ประการของนักเรียน

4. การประเมินครั้งนี้มีวิธีการและขั้นตอน ดังนี้

4.1 ประเมินด้านบริบทของโครงการ โดยสอบถามผู้ทรงคุณวุฒิ เกี่ยวกับความจำเป็น ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ของโครงการและความเหมาะสมของกิจกรรม

4.2 ประเมินด้านปัจจัยของโครงการโดยการสอบถามผู้รับผิดชอบโครงการ ครู เกี่ยวกับความเข้าใจในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคุณธรรมจริยธรรม ด้านคุณธรรม 8 ประการ กระบวนการบริหารการจัดการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมและความเหมาะสมของแผนงานโครงการ

4.3 ประเมินด้านกระบวนการของโครงการ โดยการสอบถามผู้รับผิดชอบโครงการ ครู เกี่ยวกับรูปแบบกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ด้านคุณธรรม 8 ประการและความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม

4.4 ประเมินด้านผลผลิตของโครงการ โดยการทดสอบนักเรียนด้านความรู้เชิงคุณธรรมจริยธรรมด้านคุณธรรม 8 ประการ สอบถามทัศนคติและพฤติกรรมเชิงคุณธรรมจริยธรรม ด้าน

8

คุณธรรม 8 ประการ สอบถามความพึงพอใจของผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษาต่อพฤติกรรมการแสดงออกเชิงคุณธรรมจริยธรรม ด้านคุณธรรม 8 ประการของนักเรียน สอบถามความพึงพอใจของครูต่อพฤติกรรมการแสดงออกเชิงคุณธรรมจริยธรรม ด้านคุณธรรม 8 ประการของนักเรียน

5. เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน

การประเมินโครงการครั้งนี้ใช้เครื่องมือในการประเมิน 7 ฉบับ ดังนี้

5.1 ด้านบริบท

5.1.1 แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ เกี่ยวกับความต้องการและความจำเป็นของการดำเนินโครงการ

5.1.2 แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมและเป็นไปได้ใน

การบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ

5.2.3 แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของกิจกรรมที่ใช้ในการดำเนินการพัฒนา

5.2 ด้านปัจจัย

5.2.1 แบบสอบถามครูสอบถามความเข้าใจในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ด้านคุณธรรม 8 ประการ

5.2.2 แบบสอบถามความคิดเห็นระดับปฏิบัติด้านกระบวนการบริหารการจัดการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน ด้านคุณธรรม 8 ประการ

5.2.3 แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของแผนงาน โครงการ

5.3 ด้านกระบวนการ

5.3.1 แบบสอบถามความพึงพอใจของครูต่อกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ด้านคุณธรรม 8 ประการ

5.3.2 แบบสอบถามความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ด้านคุณธรรม 8 ประการ

5.4 ด้านผลผลิต

5.4.1 แบบทดสอบความรู้เชิงคุณธรรมจริยธรรมด้านคุณธรรม 8 ประการของนักเรียน

5.4.2 แบบประเมินทัศนคติและพฤติกรรมเชิงคุณธรรมจริยธรรมด้านคุณธรรม 8 ประการของนักเรียน

5.4.3 แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษาต่อพฤติกรรมการแสดงออกเชิงคุณธรรมจริยธรรมด้านคุณธรรม 8 ประการของนักเรียน

9

5.4.4 แบบประเมินความพึงพอใจของครู ต่อพฤติกรรมการแสดงออกเชิงคุณธรรมจริยธรรม ด้านคุณธรรม 8 ประการของนักเรียน

ข้อจำกัดการประเมิน

การประเมินครั้งนี้ไม่สามารถใช้ประชากร กลุ่มตัวอย่างนักเรียนช่วงชั้นที่ 1 และระดับอนุบาลได้เพราะนักเรียนยังไม่สามารถเข้าใจในข้อคำถาม

กรอบแนวคิดในการประเมิน

การประเมินโครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน ด้านคุณธรรม 8 ประการ โรงเรียนบ้านไสส้าน อำเภอทุ่งสง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 ครั้งนี้ ผู้ประเมินได้ใช้รูปแบบการประเมินแบบซิปป์ โมเดล ( CIPP MODEL ) เป็นแบบอย่างทางความคิดสำหรับแนวทางในการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อประเมินผลตามวัตถุประสงค์ของการประเมินโครงการโดยมีรายละเอียด ดังนี้

1. บริบทของโครงการ ( Context : C )

2. ปัจจัยเบื้องต้นของโครงการ ( Input : I )

3. กระบวนการของการดำเนินงาน ( Process : P )

4. ประเมินผลผลิต ( Product : p )

10

ดังภาพประกอบ ที่ 1

Context

Input

Process

Product

บริบท ( C )

ปัจจัยเบื้องต้น ( I )

กระบวนการ ( P )

ผลผลิต ( p )

- ความจำเป็นของโครงการ

- ความเหมาะสมของโครงการ

- ความเป็นไปได้ของโครงการ

- ความเหมาะสมของกิจกรรม

- ด้านความเข้าใจในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคุณธรรมจริยธรรม

- ด้านกระบวนการบริหารการจัดการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม

- ความเหมาะสมของแผนงาน โครงการ

- รูปแบบกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม

- ความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม

- ความรู้เชิงคุณธรรมจริยธรรม 8 ประการของนักเรียน

- ทัศนคติและพฤติกรรมเชิงคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียน

- ความพึงพอใจของผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษาต่อพฤติกรรมการแสดงออกด้านคุณธรรม 8 ประการของนักเรียน

- ความพึงพอใจของครูต่อพฤติกรรมการแสดงออกด้านคุณธรรม 8 ประการของนักเรียน

ภาพประกอบที่ 1 กรอบแนวคิดในการประเมินโครงการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน

11

ตาราง ที่ 2 กรอบแนวคิดในการประเมินโครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน ด้านคุณธรรม 8 ประการ

วัตถุประสงค์ / ประเด็นการประเมิน

ตัวชี้วัด

เกณฑ์

แหล่งข้อมูล

เครื่องมือ

( วิธีเก็บข้อมูล)

การวิเคราะห์

- มีความจำเป็นอยู่ในระดับมากหรือx3.50 จากมาตรวัด 5 ระดับ

1.ความจำเป็นของโครงการ

1. เพื่อประเมินบริบทของโครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียนด้านคุณธรรม 8 ประการ

2. ความเหมาะสม ของโครงการ

-มีความเหมาะสมในระดับมากหรือ x3.50 จากมาตรวัด 5 ระดับ

- มีความเป็นไปได้ในระดับมากหรือ x3.50 จากมาตรวัด 5 ระดับ

- มีระดับความเหมาะสมอยู่ในระดับมากหรือ x3.50 จากมาตรวัด 5 ระดับ

ผู้ทรง

คุณวุฒิ

ผู้ทรง

คุณวุฒิ

ผู้ทรง

คุณวุฒิ

ผู้ทรง

คุณวุฒิ

- แบบสอบถามผู้ทรงคุณวุฒิ ( A)

- แบบสอบถามผู้ทรงคุณวุฒิ ( A)

- แบบสอบถามผู้ทรงคุณวุฒิ ( A)

- แบบสอบถามผู้ทรงคุณวุฒิ ( A)

x

x

x

x

3.ความเป็นไปได้ของโครงการ

4.ความเหมาะสมของกิจกรรม

- ครูมีความเข้าใจในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม ในระดับมากหรือ x3.50 จากมาตรวัด 5 ระดับ

2. เพื่อประเมินปัจจัยด้านการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม

1.ความเข้าใจในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคุณธรรมจริยธรรม

- ครู

- ครู

- ครู

- แบบสอบถามครู(B)

- แบบสอบถามครู(B)

แบบสอบถามครู

( B ) x

x

x

2. กระบวนการบริหารจัดการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม

- มีกระบวนการบริหารจัดการที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมปฏิบัติอยู่ในระดับมาก หรือx3.50 จากมาตรวัด 5 ระดับ

3. ความเหมาะสมของแผนงานโครงการ

-โครงการมีความเหมาะสม

อยู่ในระดับมากหรือ x3.50 จากมาตรวัด 5 ระดับ

12

ตารางที่ 2 ( ต่อ )

วัตถุประสงค์ / ประเด็นการประเมิน

ตัวชี้วัด

เกณฑ์

แหล่งข้อมูล

เครื่องมือ

( วิธีเก็บข้อมูล)

การวิเคราะห์

1. รูปแบบการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม

3. เพื่อประเมินกระบวนการดำเนินงานของโครงการ

2. ความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

- การจัดกิจกรรมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากหรือx3.50 จากมาตรวัด 5 ระดับ

- ครูมีระดับการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมากหรือ x3.50 จากมาตรวัด 5 ระดับ

- ครู

- ครู

- แบบสอบถามครู (C1 )

- แบบสอบถามครู( C 2 )

x

x

4. เพื่อประเมินผลผลิตของโครงการ

- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ เชิงคุณธรรมจริยธรรมไม่น้อยกว่า

1. ความรู้เชิงคุณธรรมจริยธรรม ด้านคุณธรรม 8 ประการ

ร้อยละ 75

- นักเรียนมีทัศนคติและพฤติกรรมเชิงคุณธรรมจริยธรรมครบ 8 ด้านอยู่ในระดับมากหรือx3.50 จากมาตรวัด 5 ระดับ

2. ทัศนคติและพฤติกรรมเชิงคุณธรรมจริยธรรม

ด้านคุณธรรม 8 ประการ

3. ความพึงพอใจของผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษาต่อพฤติกรรมการแสดงออกของนักเรียนด้านคุณธรรม 8 ประการ

- ผู้ปกครอง / กรรมการ

สถานศึกษา มีความพึงพอใจในพฤติกรรมนักเรียนในระดับมากหรือ x3.50 จากมาตรวัด 5 ระดับ

-นัก

เรียน

-นัก

เรียน

- ผู้ปก

ครอง

กรรมการสถานศึกษา

-แบบวัดความรู้นักเรียน ( D 1 )

- แบบสอบถามนักเรียน( D1 )

- แบบสอบถามผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษา ( D2 )

ร้อยละ

x

x

13

ตารางที่ 2 ( ต่อ )

วัตถุประสงค์ / ประเด็นการประเมิน

ตัวชี้วัด

เกณฑ์

แหล่งข้อมูล

เครื่องมือ

( วิธีเก็บข้อมูล)

การวิเคราะห์

4. เพื่อประเมินผลผลิตของโครงการ

4. ความพึงพอใจของครู ต่อพฤติกรรมการแสดงออกของนักเรียน

ด้านคุณธรรม

8 ประการ

- ครู มีความพึงพอใจในพฤติกรรมนักเรียนในระดับมากหรือ x3.50 จากมาตรวัด 5 ระดับ

- ครู

- แบบสอบถามครู

( D 3 )

x

นิยามศัพท์เฉพาะ

เพื่อให้เข้าใจความหมายเฉพาะของศัพท์ที่ใช้ในการประเมินครั้งนี้ตรงกัน ผู้ประเมินจึงกำหนดความหมายของคำศัพท์ต่าง ๆ ไว้ ดังนี้

1. การประเมินโครงการ หมายถึง กระบวนการที่ช่วยตัดสินใจ เป็นเครื่องมือที่ช่วยควบคุมดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพ หลีกเลี่ยงและขจัดปัญหาที่เกิดขึ้น ผลจากการประเมินจะเป็นข้อมูลในการตัดสินใจดำเนินการต่อ หรือยกเลิก การประเมินครั้งนี้ใช้รูปแบบของ ซิปป์ โมเดล

( CIPP MODEL )

2. การประเมินบริบท หมายถึง การประเมินก่อนที่จะลงมือดำเนินการโครงการใด ๆ มีจุดมุ่งหมาย เพื่อกำหนดหลักการและเหตุผล รวมทั้งเพื่อการพิจารณาความจำเป็นที่จะต้องจัดทำโครงการดังกล่าว การชี้ประเด็นปัญหา ตลอดจนการพิจารณาความเหมาะสมของเป้าหมายของโครงการ

3. ปัจจัยเบื้องต้น หมายถึง องค์ประกอบพื้นฐานที่จำเป็น เพื่อใช้เป็นสิ่งสนับสนุนในการดำเนินโครงการ ซึ่งประกอบด้วย บุคลากร งบประมาณ การบริหารจัดการ อาคารสถานที่ วัสดุ อุปกรณ์

4. กระบวนการ หมายถึง กระบวนการที่นำมาใช้ในการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมของผู้เรียน โรงเรียนบ้านไสส้าน อำเภอทุ่งสง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 คือ รูปแบบการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

14

5. ผลผลิต หมายถึง ครูใช้เทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมอย่างหลากหลาย นักเรียนมีคุณธรรมจริยธรรม ด้านคุณธรรม 8 ประการ มีความสนใจใฝ่รู้เพิ่มขึ้น

6. คุณธรรม 8 ประการ หมายถึง คุณธรรมที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศเป็นนโยบายเร่งรัดการปฏิรูปการศึกษา โดยยึดคุณธรรม นำความรู้ ประกอบด้วย ความขยัน การประหยัด ความซื่อสัตย์ การมีวินัย ความสุภาพ ความสะอาด ความสามัคคี และความมีน้ำใจ

7. ความขยัน หมายถึง ความตั้งใจเพียรพยายาม ทำหน้าที่การงานอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ อดทน ความขยันต้องปฏิบัติควบคู่กับการใช้สติปัญญาแก้ปัญหาจนเกิดผลสำเร็จ

8. การประหยัด หมายถึง การรู้จักเก็บออมถนอมใช้ทรัพย์สิน สิ่งของแต่พอควร พอประมาณให้เกิดประโยชน์คุ้มค่า ไม่ฟุ่มเฟือย ฟุ้งเฟ้อ

9. ความซื่อสัตย์ หมายถึง ความประพฤติตรง ไม่เอนเอียง ไม่มีเล่ห์เหลี่ยม มีความจริงใจ ปลอดจากความรู้สึกลำเอียง หรืออคติ

10. การมีวินัย หมายถึง การยึดมั่นในระเบียบแบบแผน ข้อบังคับ หรือข้อปฏิบัติ ซงมีทั้ง

วินัยในตนเองและวินัยต่อสังคม

11. สุภาพ หมายถึง เรียบร้อย อ่อนโยน ละมุนละม่อม มีกิริยามารยาทที่ดีงาม มีสัมมา

คารวะ

12. ความสะอาด หมายถึง ปราศจากมัวหมองทั้งกาย ใจ และสภาพแวดล้อม ความผ่องใส

เป็นที่เจริญตา ทำให้เกิดความสบายใจแก่ผู้เรียน

13. สามัคคี หมายถึง ความพร้อมเพรียงกัน ความกลมเกลียวกัน ความปรองดองกัน ร่วม

ใจกันปฏิบัติงานให้บรรลุตามที่ต้องการ เกิดการงานอย่างสร้างสรรค์ ปราศจากการทะเลาะวิวาท ไม่เอารัดเอาเปรียบ เป็นการยอมรับการมีเหตุผล ยอมรับความแตกต่าง หลากหลายทางความคิด

14. มีน้ำใจ หมายถึง ความจริงใจไม่เห็นแก่เพียงตนเอง หรือเรื่องของตัวเองแต่เห็นอกเห็นใจ

เห็นคุณค่าในเพื่อนมนุษย์ มีความเอื้ออาทร เอาใจใส่ให้ความสนใจในความต้องการ ความจำเป็น ความทุกข์สุขของผู้อื่นและพร้อมที่จะให้ความช่วยเหลือเกื้อกูลกันและกัน

15. โรงเรียน หมายถึงโรงเรียนบ้านไสส้าน อำเภอทุ่งสง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2

16. บุคลากร หมายถึง ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนบ้านไสส้าน

17. นักเรียน หมายถึงนักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในโรงเรียนบ้านไสส้าน อาเภอทุ่งสง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2

15

18. โครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน ด้านคุณธรรม 8 ประการ หมายถึง วิธีส่งเสริม ปรับปรุง การกระทำที่ถูกต้องหรือส่งเสริมความประพฤติที่เหมาะสมทั้งต่อตนเองและส่วนร่วมให้ดีขึ้นเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข

19. ยอดคนดี หมายถึงนักเรียนโรงเรียนบ้านไสส้านที่ผ่านเกณฑ์การคัดเลือกตามคุณลักษณะที่กำหนด

20. กรรมการสถานศึกษา หมายถึงกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบ้านไสส้าน




รายงานจริยธรรม จงศักดิ์ มาตา

บทที่ 2
บทสรุป



Copyright © 2010 All Rights Reserved.
----- ***** ----- โปรดใช้บริการการแปลของ Google Translate นี่คือเวบไซต์คู่ www.newworldbelieve.com กับ www.newworldbelieve.net เราให้เป็นเวบไซต์ที่เสนอธรรมะหรือ ความจริง หรือ ความคิดเห็นในเรื่องราวของชีวิต ตั้งใจให้ธัมมะเป็นทาน ให้สิ่งที่เป็นประโยชน์แด่คนทั้งหลาย ทั้งโลก ให้ได้รู้ความจริงของศาสนาต่าง ๆในโลกวันนี้ และได้รู้ศาสนาที่ประเสริฐเพียงศาสนาเดียวสำหรับโลกยุคใหม่ จักรวาลใหม่ เรามีผู้รู้ ผู้ตรัสรู้ ผู้วินิจฉัยสรรพธรรมสรรพวิชชา สรรพศาสน์ และสรรพศาสตร์ พอชี้ทางสู่โลกใหม่ ให้ความสุข ความสบายใจความมีชีวิตที่หลุดพ้นไปสู่โลกใหม่ เราได้อุทิศเนื้อที่ทั้งหมดเป็นเนื้อที่สำหรับธรรมะทั้งหมด ไม่มีการโฆษณาสินค้า มาแต่ต้น นับถึงวันนี้ร่วม 14 ปีแล้ว มาวันนี้ เราได้สร้างได้ทำเวบไซต์คู่นี้จนได้กลายเป็นแดนโลกแห่งความสว่างไสว เบิกบานใจ ไร้พิษภัย เป็นแดนประตูวิเศษ เปิดเข้าไปแล้ว เจริญดวงตาปัญญาละเอียดอ่อน เห็นแต่สิ่งที่น่าสบายใจ ที่ผสานความคิดจิตใจคนทั้งหลายด้วยไมตรีจิตมิตรภาพล้วน ๆ ไปสู่ความเป็นมิตรกันและกันล้วน ๆ วันนี้เวบไซต์นี้ ได้กลายเป็นโลกท่องเที่ยวอีกโลกหนึ่ง ที่กว้างใหญ่ไพศาล เข้าไปแล้วได้พบแต่สิ่งที่สบายใจมีความสุข ให้ความคิดสติปัญญา และได้พบเรื่องราวหลายหลากมากมาย ที่อาจจะท่องเที่ยวไปได้ตลอดชีวิต หรือท่านอาจจะอยากอยู่ณโลกนี้ไปชั่วนิรันดร ไม่กลับออกไปอีกก็ได้ เพียงแต่ท่านเข้าใจว่านี่เป็นแดนต้นเรื่องเป็นด่านข้ามจากแดนโลกเข้าไปสู่อีกโลกหนึ่ง และซึ่งเป็นโลกหรือบ้านของท่านทั้งหลายได้เลยทีเดียว ซึ่งสำหรับคนต่างชาติ ต่างภาษาต่างศาสนา ได้โปรดใช้การแปลของ กูเกิล หรือ Google Translate แปลเป็นภาษาของท่านก่อน ที่เขาเพิ่งประสบความสำเร็จการแปลให้ได้แทบทุกภาษาในโลกมนุษย์นี้แล้ว ตั้งแต่ต้นปีนี้เอง นั้นแหละเท่ากับท่านจะเป็นที่ไหนของโลกก็ตาม ทั้งหมดโลกประมาณ 7.6 พันล้านคนวันนี้ สามารถเข้ามาท่องเที่ยวในโลกของเราได้เลย เราไม่ได้นำท่านไปเที่ยวแบบธรรมดาๆ แต่การนำไปสู่ความจริง ความรู้เรื่องชีวิตใหม่ การอุบัติใหม่สู่ภาวะอริยบุคคล ไปสู่การเปลี่ยนแปลงไปพ้นจากทุกข์ ทั้งหลายไปสู่โลกแห่งความสุขแท้นิรันดร คือโลกนิพพานขององค์บรมศาสดาพุทธศาสนา พระบรมครูพุทธะ องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพียงแต่ท่านโปรดใช้บริการการแปลของ Google Translate ท่านก็จะเข้าสู่โลกนี้ได้ทันทีพร้อมกับคน7.6พันล้านคนทั้งโลกนี้. ----- ***** ----- • หมายเหตุ เอาขึ้นเวบไซต์ แทนของเดิม ทั้ง 2 เวบ .net .com วันที่ 21 เม.ย. 2565 เวลา 07.00 น. -----*****-----