ReadyPlanet.com
dot
dot dot
bulletBUDDHISM TO THE NEW WORLD ERA
bullet1 Thai-ไทย
bullet2.English-อังกฤษ
bullet3.China-จีน
bullet4.Hindi-อินเดีย
bullet5.Russia-รัสเซีย
bullet6.Arab-อาหรับ
bullet7.Indonesia-อินโดนีเซีย
bullet8.Japan-ญี่ปุ่น
bullet9.Italy-อิตาลี
bullet10.France-ฝรั่งเศส
bullet11.Germany-เยอรมัน
bullet12.Africa-อาฟริกา
bullet13.Azerbaijan-อาเซอร์ไบจัน
bullet14.Bosnian-บอสเนีย
bullet15.Cambodia-เขมร
bullet16.Finland-ฟินแลนด์
bullet17.Greek-กรีก
bullet18.Hebrew-ฮีบรู
bullet19.Hungary-ฮังการี
bullet20.Iceland-ไอซ์แลนด์
bullet21.Ireland-ไอร์แลนด์
bullet22.Java-ชวา
bullet23.Korea-เกาหลี
bullet24.Latin-ละติน
bullet25.Loa-ลาว
bullet26.Finland-ฟินแลนด์
bullet27.Malaysia-มาเลย์
bullet28.Mongolia-มองโกเลีย
bullet29.Nepal-เนปาล
bullet30.Norway-นอรเวย์
bullet31.persian-เปอร์เซีย
bullet32.โปแลนด์-Poland
bullet33.Portugal- โปตุเกตุ
bullet34.Romania-โรมาเนีย
bullet35.Serbian-เซอร์เบีย
bullet36.Spain-สเปน
bullet37.Srilanga-สิงหล,ศรีลังกา
bullet38.Sweden-สวีเดน
bullet39.Tamil-ทมิฬ
bullet40.Turkey-ตุรกี
bullet41.Ukrain-ยูเครน
bullet42.Uzbekistan-อุสเบกิสถาน
bullet43.Vietnam-เวียดนาม
bullet44.Mynma-พม่า
bullet45.Galicia กาลิเซียน
bullet46.Kazakh คาซัค
bullet47.Kurdish เคิร์ด
bullet48. Croatian โครเอเซีย
bullet49.Czech เช็ก
bullet50.Samoa ซามัว
bullet51.Nederlands ดัตช์
bullet52 Turkmen เติร์กเมน
bullet53.PunJabi ปัญจาบ
bullet54.Hmong ม้ง
bullet55.Macedonian มาซิโดเนีย
bullet56.Malagasy มาลากาซี
bullet57.Latvian ลัตเวีย
bullet58.Lithuanian ลิทัวเนีย
bullet59.Wales เวลล์
bullet60.Sloveniana สโลวัค
bullet61.Sindhi สินธี
bullet62.Estonia เอสโทเนีย
bullet63. Hawaiian ฮาวาย
bullet64.Philippines ฟิลิปปินส์
bullet65.Gongni-กงกนี
bullet66.Guarani-กวารานี
bullet67.Kanada-กันนาดา
bullet68.Gaelic Scots-เกลิกสกอต
bullet69.Crio-คริโอ
bullet70.Corsica-คอร์สิกา
bullet71.คาตาลัน
bullet72.Kinya Rwanda-คินยารวันดา
bullet73.Kirkish-คีร์กิช
bullet74.Gujarat-คุชราด
bullet75.Quesua-เคซัว
bullet76.Kurdish Kurmansi)-เคิร์ด(กุรมันซี)
bullet77.Kosa-โคซา
bullet78.Georgia-จอร์เจีย
bullet79.Chinese(Simplified)-จีน(ตัวย่อ)
bullet80.Chicheva-ชิเชวา
bullet81.Sona-โซนา
bullet82.Tsonga-ซองกา
bullet83.Cebuano-ซีบัวโน
bullet84.Shunda-ชุนดา
bullet85.Zulu-ซูลู
bullet86.Sesotho-เซโซโท
bullet87.NorthernSaizotho-ไซโซโทเหนือ
bullet88.Somali-โซมาลี
bullet89.History-ประวัติศาสตร์
bullet90.Divehi-ดิเวฮิ
bullet91.Denmark-เดนมาร์ก
bullet92.Dogry-โดกรี
bullet93.Telugu-เตลูกู
bullet94.bis-ทวิ
bullet95.Tajik-ทาจิก
bullet96.Tatar-ทาทาร์
bullet97.Tigrinya-ทีกรินยา
bullet98.Check-เชค
bullet99.Mambara-มัมบารา
bullet100.Bulgaria-บัลแกเรีย
bullet101.Basque-บาสก์
bullet102.Bengal-เบงกอล
bullet103.Belarus-เบลารุส
bullet104.Pashto-พาชตู
bullet105.Fritian-ฟริเชียน
bullet106.Bhojpuri-โภชปุรี
bullet107.Manipur(Manifuri)-มณีปุระ(มณิฟูรี)
bullet108.Maltese-มัลทีส
bullet109.Marathi-มาราฐี
bullet110.Malayalum-มาลายาลัม
bullet111.Micho-มิโช
bullet112.Maori-เมารี
bullet113.Maithili-ไมถิลี
bullet114.Yidsdish-ยิดดิช
bullet115.Euroba-ยูโรบา
bullet116.Lingala-ลิงกาลา
bullet118.Slovenia-สโลวีเนีย
bullet119.Swahili-สวาฮิลี
bullet120.Sanskrit-สันสกฤต
bullet121.history107-history107
bullet122.Amharic-อัมฮาริก
bullet123.Assam-อัสสัม
bullet124.Armenia-อาร์เมเนีย
bullet125.Igbo-อิกโบ
bullet126.History115-ประวัติ 115
bullet127.history117-ประวัติ117
bullet128.Ilogano-อีโลกาโน
bullet129.Eve-อีเว
bullet130.Uighur-อุยกูร์
bullet131.Uradu-อูรดู
bullet132.Esperanto-เอสเปอแรนโต
bullet133.Albania-แอลเบเนีย
bullet134.Odia(Oriya)-โอเดีย(โอริยา)
bullet135.Oromo-โอโรโม
bullet136.Omara-โอมารา
bullet137.Huasha-ฮัวซา
bullet138.Haitian Creole-เฮติครีโอล
bulletคำบูชาพระรัตนตรัย ทำวัตรแปล เช้า-เย็น
bulletChart Showing the Process
bulletบุคคลแห่งปีของหนังสือพิมพ์ดี พ.ศ.2540 - 2566
bulletบุคคลแห่งปีของหนังสือพิมพ์ดี 1
bulletบุคคลแห่งปีของหนังสือพิมพ์ดี 2
bulletบุคคลแห่งปีของหนังสือพิมพ์ดี บุคคลที่ 1 - 188 ปัจจุบัน
bulletหนังสือพิมพ์ดี
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 1
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 2
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 3
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 4
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 5
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 6
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 7
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 8
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 9
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 10
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 11
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 12
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 13
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 14
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 15
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 16
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 17
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 18
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 19
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 20
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 21
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 22
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 23
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 24
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 25
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 26
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 27
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 28
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 29
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 30
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 31
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 32
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 33
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 34
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 35
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 36
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 37
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 38
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 39
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 40
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 41
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 42
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 43
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 44
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 45
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 46
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 47
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 48
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 49
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 50
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 51
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 52
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 53
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 54
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 55
bulletหนังสือพิมพ์ดีเล่มที่ 56
bulletหนังสือพิมพ์ดีเล่มที 57
bulletหนังสือพิมพ์ดีเล่มที 58
bulletหนังสือพิมพ์ดีเล่มที 59
bulletTo The World
bulletENGLISH
bulletUSA
bulletChina
bulletIndia
bullet Mynmar
bullet Cambodia
bullet Loas
bulletSri Lanka
bulletMalaysia
bulletKorea
bulletA Sharp Turn of Believes : Iresearch Iwrite Iread
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 1
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 2
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 3
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 4
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 5
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 6
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 7
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 8
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 9
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 10
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 11
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 12
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 13
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 14
bulletMystery Report 15
bulletMystery Report 16
bulletMystery Report 17
bulletMystery Report 18
bulletMystery Report 19
bulletMystery Report 20
bulletMystery Report 21
bulletMystery Report 22
bulletMystery Report 23
bulletMystery Report 24
bulletMystery World Report 25
bulletศึกษาโลกลี้ลับ 26
bulletเฝ้าดูวัฒนธรรมโลกจากจอแก้ว วิเคราะห์ทุกปัญหาในโลกมนุษย์ด้วยสติปัญญาและเหตุผลวิทยาศาสตร์จากนสพ.ดี
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2536
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2537
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2538
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2539
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2540
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2541
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2542
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2543-2545
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2545-2549
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2549-2550
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2550-ส.ค.2551
bulletเฝ้าดูฯ ส.ค.-ก.ย.2551
bulletเฝ้าดูฯ ก.ย.2551- ธ.ค. 2551
bulletเฝ้าดูฯสำนวนพัชรา กอปรทศธรรม
bulletสำนวนพัชราตอนที่ 16-27
bulletสำนวนพัชราตอนที่ 29
bulletบทความใหม่ เม.ย.-พ.ค.2552
bulletพุทธธรรมเพื่อทางดับทุกข์
bulletทฤษฎีการดับทุกข์ทางจิต วิปัสสนากรรมฐานโดยการทำงาน(สำนวนปรับปรุงใหม่)
bulletประวัติพัชรา กอปรทศธรรม
bulletประวัติการต่อสู้เพื่อการดับทุกข์ ของพัชรา กอปรทศธรรม
bulletอัลบั้มรูป history
bulletนิทานธรรมะประยุกต์ มานุสสาสุระสงคราม 4 ภาค และอื่น ๆ
bulletอัลบั้มรูป ภาพในอดีตและชีวประวัติศาสตร์ที่สวยงาม
bulletจากเวบบอร์ด พูดกันไม่รู้เรื่อง ประชาธิปไตยล้าหลัง
bulletศาสนาสากล การวิเคราะห์ความหมาย
bulletปลอบใจ
dot
รวมบทวิเคราะห์กม.คณะสงฆ์ แนวปฏิรูปคณะสงฆ์อยู่ในบทวิเคราะห์นี้แล้ว
dot
bulletรวมบทวิเคราะห์กม.คณะสงฆ์
dot
สากลจักรวาล สากลศาสนา แนวคิดศาสนาสำหรับคนยุคใหม่ ผู้ก้าวผิดทางไปสู่สิ่งไร้สาระโดยไม่รู้ตัว
dot
bulletสากล...ศาสนา 1
bulletสากล...ศาสนา 2
bulletสากล...ศาสนา 3
bulletสากล...ศาสนา 4
bulletสากล...ศาสนา 5
bulletสากล...ศาสนา 6
bulletสากล...ศาสนา 7
bulletสากล...ศาสนา 9
bulletสากล...ศาสนา 8
bulletสากล...ศาสนา 10
bulletสากล...ศาสนา 11
bulletสากล...ศาสนา 12
bulletสากล...ศาสนา 13
bulletสากล...ศาสนา 14
bulletสากล...ศาสนา 16
dot
ส่วนข้อมูลสำคัญเพื่อการวิจัยการเมืองไทยยุค คมช.-รัฐบาลอภิสิทธิ์
dot
bulletข้อมูลสำคัญยุคคมช.-รัฐบาลอภิสิทธิ์
bulletรายงานสดม็อบสนธิ-จำลอง-ปชป.เป่านกหวีดวันที่1/26ส.ค.2551
bulletรายงานสดม็อบสนธิ-จำลอง-ปชป.เป่านกหวีดวันที่2/27ส.ค.2551
bulletใบปลิว อีเมล์ ในหลวงทรงร้องไห้
bulletข่าวการเมืองแฟ้ม 1
bulletในหลวงเพิ่งทราบข่าวฆ่าประชาชน10เมย.53ทรงร้องไห้
bulletบันทึกลับเสื้อแดงผู้รอดชีวิตจากทำเนียบรัฐบาล
bulletบันทึกลับเสื้อแดงผู้รอดชีวิตจากทำเนียบรัฐบาล
dot
รวมข่าวม็อบการเมืองสนธิ-จำลอง-ปชป.มิ.ย.51-เม.ย.52 นสพ.
dot
bulletข่าวการเมืองแฟ้ม 2
bulletข่าวการเมืองแฟ้ม 3
bulletรวมข่าวม็อบ30มิ.ย.51-23มี.ค.52
bulletเลือดศรีสะเกษบันทึกเรื่องราวรอบด้านเกี่ยวกับเขาพระวิหาร
bulletรายงานการโฆษณาชวนเชื่อในประเทศไทยที่ล้มล้างรัฐบาลทักษิณ
bulletหนังสือพิมพ์ดี ของฟรีให้เปล่ามา20ปีแล้วทั้งเอกสารและอินเทอเนท
bulletหนังสือพิมพ์ดี ( อินเทอเนต ) เล่ม 1 - 44 - ล่าสุด
bulletหน้าที่เก็บไว้
bulletมูลนิธิพระเทพวรมุนี(เสน ปญฺญาวชิโร)
bulletวัดมหาพุทธาราม ศรีสะเกษ บันทึกเหตุการณ์
bulletสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดศรีสะเกษแห่งที่ 1
bulletเกี่ยวกับเวบไซต์ของเรา เราทำเพื่อปัญญาชนโดยแท้
bulletรวมกระทู้เด็ดจากกระดานถามตอบ
bulletคาถาอาคมไสยศาสตร์
bulletกวีนิพนธ์ใหม่
bulletศูนย์ปฏิญญาณละเลิกอบายมุข บัญชีที่ 1- 4


ประชาธิปไตยสงฆ์ จะปฏิรูปอย่างไร?

 

 

 

{คอลัมน์ประชาธิปไตยสงฆ์}

จะปฏิรูปการปกครองสงฆ์ไปทำไม ?

 

 

 

ปัญหา    หากระบบการคณะสงฆ์ได้รับการปรับใหม่ตามโครงสร้าง วัด สงฆ์ และ สภาสงฆ์ โดยหลัก 4 ประการคือ หลักประโยชน์ส่วนรวม หลักอุปัชฌาย์-อาจารย์ หลักกัลยาณมิตร และหลักประชาชน ในบัดนี้แล้ว อะไรจะเกิดขึ้น เหตุการณ์จักดำเนินไปอย่างไร ผลที่หวังไว้จักเป็นไปดั่งหวังหรือไม่ อาจจะมีอุบัติเหตุหรือสิ่งที่ผิดพลาดไม่เป็นไปตามแผนได้เพียงไรหรือไม่ ?

 

 

 

จะปฏิรูปการปกครองสงฆ์ไปทำไม ? (ต่อ)

ภาพจำลองสถานการณ์เมื่อเริ่มระบบสภาสงฆ์(ตอน 2)

 

นี่คือภาพจำลองสถานการณ์ ตามแนวความคิดของหนังสือพิมพ์ดี เมื่อมีการปฏิรูปการคณะสงฆ์ไทยบรรลุผลสำเร็จลงแล้ว การพระพุทธศาสนาทั้งสิ้นจักดำเนินไปอย่างไร  ตอน 2 ต่อจากฉบับที่แล้ว

 

 

ตามรายงานข่าวหนังสือพิมพ์ดีฉบับที่แล้ว เดือน มี.ค.-เม.ย.-พ.ค.-มิ.ย.2541 รัฐบาลได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติการพระพุทธศาสนา พุทธศักราช 2545 เป็นเหตุให้สถานการณ์สงฆ์เปลี่ยนแปลงไปอย่างใหญ่ เพียงพลิกแผ่นดิน และตามพระราชบัญญัตินี้ ได้กำหนดสถาบันสงฆ์ที่สำคัญ 4 สถาบันคือ สภาสงฆ์ระดับตำบล สภาสงฆ์ระดับจังหวัด สภาสงฆ์ระดับชาติ และสภาสงฆ์ระดับสากล

 

และแล้ว การประชุมสภาสงฆ์ครั้งแรก ซึ่งเป็นการประชุมสภาสงฆ์ระดับตำบลทั่วราชอาณาจักร ก็ได้เริ่มขึ้น เราได้นำท่านผู้อ่านไปเยี่ยมชมการประชุมสภาสงฆ์ตำบลโคกคำ และได้พบว่าสภาสงฆ์แห่งนั้นได้ดำเนินการประชุมสภาสงฆ์และดำเนินการใดอันเป็นกิจพึงทำตามที่กฎหมายใหม่กำหนดไปโดยเรียบร้อย น่าชื่นชม และแล้ว พระอุปัชฌาย์แสง กับพระอุปัชฌาย์ชัย แห่งสภาตำบลสงฆ์ตำบลโคกคำก็เตรียมตัวไปเข้าประชุมสภาสงฆ์ระดับจังหวัด ในฐานะสมาชิกสภาสงฆ์ระดับจังหวัด ต่อไป แต่การณ์กลับปรากฎว่า สภาสงฆ์ระดับจังหวัด ยังไม่สามารถจัดการประชุมขึ้นได้ จำต้องเลื่อนออกไปอย่างไม่มีกำหนด
อันเนื่องมาจากยังมีสภาสงฆ์ระดับตำบลอีกจำนวนไม่น้อยที่ยังดำเนินการประชุมไม่เรียบร้อย

เพราะมีความสับสน ไม่เข้าใจในสาระสำคัญที่กฎหมายใหม่กำหนด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สงฆ์ในเขตเมือง และกรุงเทพมหานครเอง ที่สงสัยและสับสนในฐานะของตัวเอง ตามข้อกำหนดของกฎหมายใหม่ ต้องทำความเข้าใจให้ชัดเจนเสียก่อน

 

โดยสาระสำคัญของกฎหมายนั้น ได้กำหนดให้สงฆ์ทุกรูป ขึ้นชื่อว่า สงฆ์แล้ว ต้องเป็นสมาชิกสภาสงฆ์ระดับตำบลแห่งใดแห่งหนึ่งเสมอไป ไม่มีข้อยกเว้น และครั้นมีการนัดหมายประชุมสงฆ์ระดับตำบล พระสงฆ์ทุกรูป ไม่ว่าจะเป็นพระสังฆาธิการระดับไหน ครองสมณศักดิ์ชั้นใด ตามกฎหมายเดิมก็ตาม ถือว่าเป็นสมาชิกสภาสงฆ์ระดับตำบลทั้งสิ้น และมีหน้าที่ต้องไปประชุมสภาสงฆ์นัดแรก อันเป็นการประชุมสภาสงฆ์ระดับตำบล ทุก ๆ รูป ฉะนั้น พระสงฆ์รูปหนึ่ง นอกจากจะเป็นสมาชิกสภาสงฆ์ระดับตำบลอยู่รูปละ 1 ตำแหน่งแล้ว ยังอาจจะเป็นสมาชิกสภาสงฆ์ระดับจังหวัดด้วยอีกตำแหน่งหนึ่ง และอาจจะเป็นสมาชิกสภาสงฆ์ระดับชาติอีกเป็นตำแหน่งที่ 3 ในขณะเดียวกัน และหากเป็นเช่นนั้น ท่านที่สังกัดทั้งสามสถาบัน ก็ต้องไปประชุมทุกครั้งทุกสถาบันด้วย

 

ตัวอย่างเช่นสงฆ์ระดับเจ้าคณะจังหวัดขึ้นไปถึงกรรมการมหาเถรสมาคมตามกฎหมายเดิม จะสังกัด 3 สถาบัน คือ

 

(1)  เป็นสมาชิกสภาสงฆ์ระดับตำบล

(2)  เป็นสมาชิกสภาสงฆ์ระดับจังหวัด และ

(3)  เป็นสมาชิกสภาสงฆ์ระดับชาติ ทั้งนี้ตามสาระสำคัญของกฎหมายใหม่

 

แต่ท่านไม่มีสิทธิ์เป็นประธานสภาสงฆ์ระดับตำบล เพราะเจตนารมณ์ของกฎหมายใหม่ ประสงค์กันมิให้ความรู้สึกของอำนาจครอบสงฆ์ระดับพื้นฐานอันเป็นประชากรสงฆ์ส่วนใหญ่ กฎหมายจึงกำหนดให้พระสังฆาธิการระดับ เจ้าคณะอำเภอ รองเจ้าคณะอำเภอ และเจ้าคณะตำบล ตามกฎหมายเดิมเท่านั้นเป็นผู้มีสิทธิ์ครองตำแหน่งประธานสภาสงฆ์ระดับตำบลวาระแรก ทั้งนี้โดยตำแหน่งและเงื่อนไขตามบทเฉพาะกาลของพระราชบัญญัติการพระพุทธศาสนา พุทธศักราช 2545

 

สภาสงฆ์ระดับตำบลในกรุงเทพมหานคร ก็คือเขต และแขวง นั่นเอง แต่ตามพระราชบัญญัติใหม่นี้ให้เรียกคำเดียวกันหมดคือ สภาสงฆ์ระดับตำบล(ไม่ใช่สภาสงฆ์ระดับแขวง) เช่นสภาสงฆ์ระดับตำบล ในเขต แขวงพระนคร พระสงฆ์ทุกรูปทุกชั้นบรรดาศักดิ์ถือว่าเป็นสมาชิกสภาสงฆ์ระดับตำบลพระนครทั้งสิ้น เมื่อมีการประชุมพระสงฆ์ในแขวงนั้นก็ต้องลงประชุมหมด และแน่นอนว่าพระบางรูปคงต้องสังกัดมากกว่าสถาบันเดียว คืออาจเป็นสมาชิกสภาสงฆ์ระดับจังหวัดกรุงเทพมหานครด้วย เป็นสมาชิกสภาสงฆ์ระดับชาติด้วย ทั้งนี้ตามเงื่อนไขของกฎหมายใหม่

 

 

รูปแบบของสภาสงฆ์ 3 ระดับนี้ จะไม่เป็นรูปแบบของสายการบังคับบัญชา เมื่อเขียนเป็นแผนภูมิออกมา จะไม่เหมือนสายการบังคับบัญชาของระบบบ้านเมืองเขา แต่จะเป็นวงกลม 3 วง

 

วงที่ 1  คือสภาสงฆ์ระดับตำบล จะครอบครองเนื้อที่ทั้งหมด

วงที่ 2  เป็นสภาสงฆ์ระดับจังหวัด ซึ่งจะอยู่ภายในวงสภาสงฆ์ระดับตำบลและ

วงที่ 3  สภาสงฆ์ระดับชาติ ซึ่งจะอยู่ภายในวงสภาสงฆ์ระดับจังหวัดอีกทีหนึ่ง

 

ซึ่งทั้งหมดนี้จะบอกความหมายอันเป็นสาระสำคัญก็คือ ภราดรภาพ ซึ่งจักไม่มีความหมายของ ชนชั้น จึงไม่มีลักษณะเป็น ชั้นการบังคับบัญชาหรือ Chain of command อย่างทางทหารหรือทางโลกเขา นี่แหละความแตกต่างอย่างยิ่งระหว่างแนวคิดฝ่ายโลกและแนวคิดฝ่ายธรรม และซึ่งจำต้องเน้นลงไปว่า เมื่อเราเป็นฝ่ายธรรม ก็ต้องเดินไปในวิถีแห่งธรรม ย่อมไปในทางตรงข้ามกับโลก วิถีโลก จึงจักสามารถดำเนินไปบรรลุเป้าหมายฝ่ายธรรมได้ อันอาจอ่านความหมายจาก แผนภูมิสภาสงฆ์ ๑ ได้ดังนี้

 

แผนภูมิสภาสงฆ์ ๑

 

สภาสงฆ์ระดับชาติ ๑

สภาสงฆ์ระดับจังหวัด สภาสงฆ์ระดับจังหวัด ๒

สภาสงฆ์ระดับตำบล สภาสงฆ์ระดับตำบล สภาสงฆ์ระดับตำบล ๓

 

คำอธิบาย :

๑ วงกลมเล็ก คือสภาสงฆ์ระดับชาติ

๒ วงกลมกลาง คือสภาสงฆ์ระดับจังหวัด ซึ่งครอบสภาสงฆ์ระดับชาติด้วย

๓ วงกลมใหญ่ คือสภาสงฆ์ระดับตำบลซึ่งครอบสภาสงฆ์ระดับจังหวัดด้วย

แผนภูมินี้แสดงความเสมอภาคด้วยหลักภราดรภาพ ไม่แสดงสายการบังคับบัญชา เพราะไม่มี การบังคับบัญชา แต่แสดงความกลมกลืนด้วยภูมิปัญญา แสดงพื้นฐานสำคัญว่า การวินิจฉัยสั่งการใดใดอยู่ที่สภาสงฆ์ระดับตำบล การวินิจฉัยปัญหาทางพระธรรมวินัยทั้งสิ้นจะอยู่ที่สภาสงฆ์ระดับตำบล ทั้งนี้จึงสอดคล้องความจริงที่ว่าสงฆ์เสมอกันด้วยศีลสามัญญตา และด้วยทิฏฐิสามัญญตา ที่ให้ความชอบธรรมแด่สภาสงฆ์ทุกระดับสามารถตัดสินโดยพระธรรมวินัยได้เลย ทั้งนี้ด้วยภูมิปัญญา-คุณธรรมล้วน.

 

 

นอกจากนี้ ยังมีเหตุผลที่สำคัญอีกประการหนึ่งก็คือ การประชุมสภาสงฆ์ระดับจังหวัด และสภาสงฆ์ระดับชาติ ยังคงต้องรอภาคพิธีกรรมการเปิดประชุม ที่เกี่ยวข้องด้วยสถาบันชั้นสูงของชาติ ซึ่งในขณะนี้รัฐบาลยังเตรียมการไม่พร้อม เพื่อให้การณ์เป็นไปโดยถูกต้องตามประเพณีวัฒนธรรมของชาวพุทธ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง องค์ศาสนูปถัมภก และพระบรมราชวงศ์ ที่ทรงมีฐานะเป็นชาวพุทธ และทรงเป็นมหาอุบาสก องค์อุปัฏฐากที่สำคัญยิ่งใหญ่ และทรงเป็นองค์พระประมุขของแผ่นดิน ว่าจะทรงมีพระราชวินิจฉัยอย่างไรในส่วนของพระราชพิธีเปิดสภาสงฆ์แห่งชาติครั้งประวัติศาสตร์นี้

 

 

อย่างไรก็ตาม เนื่องจากหลักการบริหารการพระพุทธศาสนา ตามกฎหมายใหม่นี้ ได้ให้ความสำคัญระดับพื้นฐานทั้งสิ้นไว้ที่สภาสงฆ์ระดับตำบล กล่าวคือการเดินไปแห่งวิถีนักบวชพุทธทั้งสิ้น จักเป็นไปได้ทันทีที่สภาสงฆ์ระดับตำบลเปิดดำเนินการแล้ว ทั้งนี้ก็เพราะถือเอาพระธรรม และพระวินัยเป็นบรรทัดฐานแห่งการตัดสินใจ อันเป็นบรรทัดฐานอย่างเดียวกันหมดทุกสภาตำบลสงฆ์ และทุกระดับแห่งสภาสงฆ์ เมื่อมีกรณีปัญหาใดเกิดขึ้น สภาตำบลสงฆ์ใดก็สามารถวินิจฉัยไปได้เลยและสั่งการเด็ดขาดไปได้ด้วยหลักพระธรรมวินัย แต่หากเกิดกรณีที่ทิฏฐิไม่ลงรอยกัน หรือภูมิปัญญาไม่ลงกัน(ซึ่งจะเป็นปัญหาอันลึกซึ้งละเอียดอ่อนจริง ๆ) แล้ว จึงเป็นหน้าที่ของสภาสงฆ์ระดับจังหวัด และหรือสภาสงฆ์ระดับชาติ ซึ่งในระดับนั้นเราคัดเอาบุคคลากรที่ล้วนมีระดับภูมิแห่งปัญญารู้แจ้งในธรรมในวินัยจากสภาล่างคือสภาตำบลสงฆ์ทั่วประเทศมารวมไว้ ที่จะช่วยตัดสินปัญหาอันละเอียดอ่อนขนาดไม่ธรรมดานั้น และเมื่อตัดสินแล้วสภาสงฆ์ทุกระดับทุกแห่งก็จะสามารถยึดหลักการตัดสินนั้นเป็นแนวทางแห่งการวินิจฉัยกรณีที่คล้ายคลึงกันนั้นได้ต่อไปทันทีที่มีอธิกรณ์เกิดขึ้น(คล้ายคำพิพากษาของศาลฏีกานั่นเอง)

 

นอกจากนั้น สภาสงฆ์ระดับจังหวัดและสภาสงฆ์ระดับชาติยังมีภาระสำคัญเกี่ยวกับการวางนโยบายการศึกษาคณะสงฆ์ทั้งระดับปริยัติศึกษา ปฏิบัติศึกษา และปฏิเวธศึกษาออกมา เป็นระดับที่จะต้องมีการประสานงานกับฝ่ายบ้านเมืองในด้านนโยบายการศึกษาและนโยบายทั่ว ๆ ไป อันจักเป็นประโยชน์ในการกำหนดแนวทางให้การพระพุทธศาสนาเดินไปได้ ตามเส้นทางแห่งพระธรรมวินัยอันบริสุทธิ์ได้ทุกขั้นตอน การประชุมของสภาสงฆ์ระดับจังหวัดและระดับชาติ จึงจะเป็นการประชุมที่มีฝ่ายบ้านเมืองเข้าร่วมด้วยเสมอ ในฐานะอุบาสก-อุบาสิการะดับจังหวัดและระดับชาติ และแน่ละมีสิทธิที่จะแสดงความเห็นขัดแย้งในกรณีที่เห็นว่าไม่ถูกธรรมถูกวินัยได้เช่นเดียวกัน

 

 

สภาสงฆ์ระดับจังหวัดจะสามารถเปิดการประชุมได้เมื่อไร และดำเนินการไปอย่างไร หรือยังมีอุปสรรคปัญหาอะไร เราจะติดตามมารายงานต่อในฉบับหน้า

 

 

 

 

ปัญหา : ที่มาที่ไปของหลักการปฏิรูป 4 ประการ เช่นหลักว่าด้วยการทำประโยชน์แด่ พระพุทธศาสนาในส่วนรวม หลักครูอาจารย์ เป็นต้น ?

 

เคยมีคำถามมาก่อนและได้ตอบไขข้อข้องใจไปบ้างแล้ว โปรดดู วิเคราะห์ข่าว เดือน กรกฎาคม 2540 หน้า 19 ดังจะขอยกมาให้ดูอีกครั้งหนึ่ง

 

 

 

 

คำถาม : ให้อธิบายที่มาที่ไปแห่งหลักปฏิรูปสงฆ์ 4 ประการ คือ(1) หลักว่าด้วยการทำประโยชน์แด่พระพุทธศาสนาในส่วนรวม (2) หลักว่าด้วยครู-อาจารย์ หรืออุปัชฌาย์ (3) หลักเพื่อน หรือ กัลยาณมิตร และ (4) หลักประชาชน

 

 

คำตอบ : มาจากหลักอริยสัจ 4 วิเคราะห์ปัญหาหรือทุกข์ในวงการสงฆ์แล้วเนื่องมาจาก ความเห็นแก่ตัว ทำอะไรเพื่อเอา เพื่อมี เพื่อได้ทั้งสิ้น ดูองค์กรพื้นฐานคือวัด ดูว่าวัดเป็นที่ ๆ สำหรับพระสามเณรทำอะไร จะพบว่าทำเพื่อประโยชน์ตนทั้งสิ้น แท้ที่จริง วัดควรจะเป็นที่พึ่งของคนทั้งหลาย เป็นสถานสังคมสงเคราะห์สำหรับผู้ยากไร้ ตามหลักพระพุทธศาสนา แต่ไม่เป็นเช่นนั้น หากแต่เป็นเพียงสถานการอาชีพชนิดหนึ่งเท่านั้นเอง ดูตัวอย่างเรื่องการฌาปนกิจศพ วัดก็เรียกค่าบริการเมรุเผาศพ พระที่สวดศพก็ได้ค่าตอบแทนอย่างทำเป็นอาชีพ และเป็นล่ำเป็นสันอย่างดีในปัจจุบันนี้ พระได้เงินทองเพราะการสวดศพเป็นจำนวนมาก จึงหวงแหน ยึดมั่นถือมั่นว่าวัดของกู ๆ ๆ พระอื่นใดเข้ามาไม่ได้ เพราะนั่นก็คือการแย่งอาชีพกันชัด ๆ พระ-สามเณรบวชมาก็เพื่ออาศัยวัดเป็นที่เล่าเรียนทางอาชีพ เรียนจบได้วุฒิก็ลาสิกขา พระในวัดที่ไม่รู้จะไปไหนก็แสวงหาลาภยศ ไปตามระบบสงฆ์เจ้าขุนมูลนายต่อไป ก็ทำลายวิถีทางแห่งการสังคมสงเคราะห์ กลายเป็นระบบประเพณีที่เห็นแก่ตัว ที่ไม่เอื้อต่อมรรควิถี ก็ไม่มีพัฒนาการทางจิตเกิดขึ้น พัฒนาการทางจิตก็ล้มเหลว วัดก็ไม่มีลักษณะเป็นสากลตามหลักพระพุทธศาสนา(เพราะขึ้นชื่อว่าวัดย่อมไม่มีเจ้าของ) เราจึงต้องแก้ปัญหาด้วยหลักว่าด้วยการทำประโยชน์ส่วนรวม ให้มีระบบสังคมสงเคราะห์ มีการดูแลประชาชนคนยากคนไร้ มีการให้เปล่าโดยไม่หวังสิ่งตอบแทนใดใดบ้าง นั่นคือวิถีทางมรรคผลนิพพาน ที่จะต้องมีครูอาจารย์หรือกัลยาณมิตรผู้รู้ทางคอยประคองชี้แนะจนกว่าจะไปถึงปลายทาง ที่รอดพ้นแล้วนั่นแหละเป็นประโยชน์สูงสุด ที่จะหว่านลงในนาแห่งประชาชนทั้งหลาย นาที่เลี้ยงอุปการะมรรคผล

 

 

 

 

 

 

 




หนังสือพิมพ์ดีเล่มที่ 12

อาศิรวาทราชินิสดุดี
หน้าบอกสถานะของเรา
สัญลักษณ์ของเรา ภาพนกขาว เราจะบิน บิน บิน และบินไป
พุทธทำนาย เดือนสี่ปีกุน
คอลัมน์บันทึกการท่องเที่ยว : ลายมือของท่านพุทธทาสภิกขุ
บทบรรณาธิการ
เฝ้าดูวัฒนธรรมโลกจากจอแก้ว
รายงานผลการสำรวจความคิดเห็นของผู้อ่านต่อระบบสงฆ์ปัจจุบัน(ต่อ)
ปัญหาความไม่เป็นธรรมในการแต่งตั้งสมณศักดิ์ พระพุทธรูปปางเหยียบโลก
ท่านยังไม่รู้จักพุทธทาสภิกขุ
นิทานธรรมะ มานุสสาสุรสงคราม ภาค 1



Copyright © 2010 All Rights Reserved.
----- ***** ----- โปรดใช้บริการการแปลของ Google Translate นี่คือเวบไซต์คู่ www.newworldbelieve.com กับ www.newworldbelieve.net เราให้เป็นเวบไซต์ที่เสนอธรรมะหรือ ความจริง หรือ ความคิดเห็นในเรื่องราวของชีวิต ตั้งใจให้ธัมมะเป็นทาน ให้สิ่งที่เป็นประโยชน์แด่คนทั้งหลาย ทั้งโลก ให้ได้รู้ความจริงของศาสนาต่าง ๆในโลกวันนี้ และได้รู้ศาสนาที่ประเสริฐเพียงศาสนาเดียวสำหรับโลกยุคใหม่ จักรวาลใหม่ เรามีผู้รู้ ผู้ตรัสรู้ ผู้วินิจฉัยสรรพธรรมสรรพวิชชา สรรพศาสน์ และสรรพศาสตร์ พอชี้ทางสู่โลกใหม่ ให้ความสุข ความสบายใจความมีชีวิตที่หลุดพ้นไปสู่โลกใหม่ เราได้อุทิศเนื้อที่ทั้งหมดเป็นเนื้อที่สำหรับธรรมะทั้งหมด ไม่มีการโฆษณาสินค้า มาแต่ต้น นับถึงวันนี้ร่วม 14 ปีแล้ว มาวันนี้ เราได้สร้างได้ทำเวบไซต์คู่นี้จนได้กลายเป็นแดนโลกแห่งความสว่างไสว เบิกบานใจ ไร้พิษภัย เป็นแดนประตูวิเศษ เปิดเข้าไปแล้ว เจริญดวงตาปัญญาละเอียดอ่อน เห็นแต่สิ่งที่น่าสบายใจ ที่ผสานความคิดจิตใจคนทั้งหลายด้วยไมตรีจิตมิตรภาพล้วน ๆ ไปสู่ความเป็นมิตรกันและกันล้วน ๆ วันนี้เวบไซต์นี้ ได้กลายเป็นโลกท่องเที่ยวอีกโลกหนึ่ง ที่กว้างใหญ่ไพศาล เข้าไปแล้วได้พบแต่สิ่งที่สบายใจมีความสุข ให้ความคิดสติปัญญา และได้พบเรื่องราวหลายหลากมากมาย ที่อาจจะท่องเที่ยวไปได้ตลอดชีวิต หรือท่านอาจจะอยากอยู่ณโลกนี้ไปชั่วนิรันดร ไม่กลับออกไปอีกก็ได้ เพียงแต่ท่านเข้าใจว่านี่เป็นแดนต้นเรื่องเป็นด่านข้ามจากแดนโลกเข้าไปสู่อีกโลกหนึ่ง และซึ่งเป็นโลกหรือบ้านของท่านทั้งหลายได้เลยทีเดียว ซึ่งสำหรับคนต่างชาติ ต่างภาษาต่างศาสนา ได้โปรดใช้การแปลของ กูเกิล หรือ Google Translate แปลเป็นภาษาของท่านก่อน ที่เขาเพิ่งประสบความสำเร็จการแปลให้ได้แทบทุกภาษาในโลกมนุษย์นี้แล้ว ตั้งแต่ต้นปีนี้เอง นั้นแหละเท่ากับท่านจะเป็นที่ไหนของโลกก็ตาม ทั้งหมดโลกประมาณ 7.6 พันล้านคนวันนี้ สามารถเข้ามาท่องเที่ยวในโลกของเราได้เลย เราไม่ได้นำท่านไปเที่ยวแบบธรรมดาๆ แต่การนำไปสู่ความจริง ความรู้เรื่องชีวิตใหม่ การอุบัติใหม่สู่ภาวะอริยบุคคล ไปสู่การเปลี่ยนแปลงไปพ้นจากทุกข์ ทั้งหลายไปสู่โลกแห่งความสุขแท้นิรันดร คือโลกนิพพานขององค์บรมศาสดาพุทธศาสนา พระบรมครูพุทธะ องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพียงแต่ท่านโปรดใช้บริการการแปลของ Google Translate ท่านก็จะเข้าสู่โลกนี้ได้ทันทีพร้อมกับคน7.6พันล้านคนทั้งโลกนี้. ----- ***** ----- • หมายเหตุ เอาขึ้นเวบไซต์ แทนของเดิม ทั้ง 2 เวบ .net .com วันที่ 21 เม.ย. 2565 เวลา 07.00 น. -----*****-----