ReadyPlanet.com
dot
dot dot
bulletBUDDHISM TO THE NEW WORLD ERA
bullet1 Thai-ไทย
bullet2.English-อังกฤษ
bullet3.China-จีน
bullet4.Hindi-อินเดีย
bullet5.Russia-รัสเซีย
bullet6.Arab-อาหรับ
bullet7.Indonesia-อินโดนีเซีย
bullet8.Japan-ญี่ปุ่น
bullet9.Italy-อิตาลี
bullet10.France-ฝรั่งเศส
bullet11.Germany-เยอรมัน
bullet12.Africa-อาฟริกา
bullet13.Azerbaijan-อาเซอร์ไบจัน
bullet14.Bosnian-บอสเนีย
bullet15.Cambodia-เขมร
bullet16.Finland-ฟินแลนด์
bullet17.Greek-กรีก
bullet18.Hebrew-ฮีบรู
bullet19.Hungary-ฮังการี
bullet20.Iceland-ไอซ์แลนด์
bullet21.Ireland-ไอร์แลนด์
bullet22.Java-ชวา
bullet23.Korea-เกาหลี
bullet24.Latin-ละติน
bullet25.Loa-ลาว
bullet26.Finland-ฟินแลนด์
bullet27.Malaysia-มาเลย์
bullet28.Mongolia-มองโกเลีย
bullet29.Nepal-เนปาล
bullet30.Norway-นอรเวย์
bullet31.persian-เปอร์เซีย
bullet32.โปแลนด์-Poland
bullet33.Portugal- โปตุเกตุ
bullet34.Romania-โรมาเนีย
bullet35.Serbian-เซอร์เบีย
bullet36.Spain-สเปน
bullet37.Srilanga-สิงหล,ศรีลังกา
bullet38.Sweden-สวีเดน
bullet39.Tamil-ทมิฬ
bullet40.Turkey-ตุรกี
bullet41.Ukrain-ยูเครน
bullet42.Uzbekistan-อุสเบกิสถาน
bullet43.Vietnam-เวียดนาม
bullet44.Mynma-พม่า
bullet45.Galicia กาลิเซียน
bullet46.Kazakh คาซัค
bullet47.Kurdish เคิร์ด
bullet48. Croatian โครเอเซีย
bullet49.Czech เช็ก
bullet50.Samoa ซามัว
bullet51.Nederlands ดัตช์
bullet52 Turkmen เติร์กเมน
bullet53.PunJabi ปัญจาบ
bullet54.Hmong ม้ง
bullet55.Macedonian มาซิโดเนีย
bullet56.Malagasy มาลากาซี
bullet57.Latvian ลัตเวีย
bullet58.Lithuanian ลิทัวเนีย
bullet59.Wales เวลล์
bullet60.Sloveniana สโลวัค
bullet61.Sindhi สินธี
bullet62.Estonia เอสโทเนีย
bullet63. Hawaiian ฮาวาย
bullet64.Philippines ฟิลิปปินส์
bullet65.Gongni-กงกนี
bullet66.Guarani-กวารานี
bullet67.Kanada-กันนาดา
bullet68.Gaelic Scots-เกลิกสกอต
bullet69.Crio-คริโอ
bullet70.Corsica-คอร์สิกา
bullet71.คาตาลัน
bullet72.Kinya Rwanda-คินยารวันดา
bullet73.Kirkish-คีร์กิช
bullet74.Gujarat-คุชราด
bullet75.Quesua-เคซัว
bullet76.Kurdish Kurmansi)-เคิร์ด(กุรมันซี)
bullet77.Kosa-โคซา
bullet78.Georgia-จอร์เจีย
bullet79.Chinese(Simplified)-จีน(ตัวย่อ)
bullet80.Chicheva-ชิเชวา
bullet81.Sona-โซนา
bullet82.Tsonga-ซองกา
bullet83.Cebuano-ซีบัวโน
bullet84.Shunda-ชุนดา
bullet85.Zulu-ซูลู
bullet86.Sesotho-เซโซโท
bullet87.NorthernSaizotho-ไซโซโทเหนือ
bullet88.Somali-โซมาลี
bullet89.History-ประวัติศาสตร์
bullet90.Divehi-ดิเวฮิ
bullet91.Denmark-เดนมาร์ก
bullet92.Dogry-โดกรี
bullet93.Telugu-เตลูกู
bullet94.bis-ทวิ
bullet95.Tajik-ทาจิก
bullet96.Tatar-ทาทาร์
bullet97.Tigrinya-ทีกรินยา
bullet98.Check-เชค
bullet99.Mambara-มัมบารา
bullet100.Bulgaria-บัลแกเรีย
bullet101.Basque-บาสก์
bullet102.Bengal-เบงกอล
bullet103.Belarus-เบลารุส
bullet104.Pashto-พาชตู
bullet105.Fritian-ฟริเชียน
bullet106.Bhojpuri-โภชปุรี
bullet107.Manipur(Manifuri)-มณีปุระ(มณิฟูรี)
bullet108.Maltese-มัลทีส
bullet109.Marathi-มาราฐี
bullet110.Malayalum-มาลายาลัม
bullet111.Micho-มิโช
bullet112.Maori-เมารี
bullet113.Maithili-ไมถิลี
bullet114.Yidsdish-ยิดดิช
bullet115.Euroba-ยูโรบา
bullet116.Lingala-ลิงกาลา
bullet118.Slovenia-สโลวีเนีย
bullet119.Swahili-สวาฮิลี
bullet120.Sanskrit-สันสกฤต
bullet121.history107-history107
bullet122.Amharic-อัมฮาริก
bullet123.Assam-อัสสัม
bullet124.Armenia-อาร์เมเนีย
bullet125.Igbo-อิกโบ
bullet126.History115-ประวัติ 115
bullet127.history117-ประวัติ117
bullet128.Ilogano-อีโลกาโน
bullet129.Eve-อีเว
bullet130.Uighur-อุยกูร์
bullet131.Uradu-อูรดู
bullet132.Esperanto-เอสเปอแรนโต
bullet133.Albania-แอลเบเนีย
bullet134.Odia(Oriya)-โอเดีย(โอริยา)
bullet135.Oromo-โอโรโม
bullet136.Omara-โอมารา
bullet137.Huasha-ฮัวซา
bullet138.Haitian Creole-เฮติครีโอล
bulletคำบูชาพระรัตนตรัย ทำวัตรแปล เช้า-เย็น
bulletChart Showing the Process
bulletบุคคลแห่งปีของหนังสือพิมพ์ดี พ.ศ.2540 - 2566
bulletบุคคลแห่งปีของหนังสือพิมพ์ดี 1
bulletบุคคลแห่งปีของหนังสือพิมพ์ดี 2
bulletบุคคลแห่งปีของหนังสือพิมพ์ดี บุคคลที่ 1 - 188 ปัจจุบัน
bulletหนังสือพิมพ์ดี
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 1
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 2
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 3
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 4
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 5
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 6
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 7
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 8
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 9
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 10
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 11
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 12
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 13
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 14
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 15
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 16
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 17
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 18
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 19
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 20
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 21
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 22
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 23
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 24
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 25
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 26
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 27
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 28
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 29
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 30
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 31
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 32
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 33
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 34
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 35
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 36
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 37
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 38
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 39
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 40
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 41
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 42
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 43
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 44
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 45
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 46
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 47
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 48
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 49
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 50
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 51
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 52
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 53
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 54
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 55
bulletหนังสือพิมพ์ดีเล่มที่ 56
bulletหนังสือพิมพ์ดีเล่มที 57
bulletหนังสือพิมพ์ดีเล่มที 58
bulletหนังสือพิมพ์ดีเล่มที 59
bulletTo The World
bulletENGLISH
bulletUSA
bulletChina
bulletIndia
bullet Mynmar
bullet Cambodia
bullet Loas
bulletSri Lanka
bulletMalaysia
bulletKorea
bulletA Sharp Turn of Believes : Iresearch Iwrite Iread
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 1
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 2
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 3
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 4
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 5
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 6
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 7
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 8
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 9
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 10
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 11
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 12
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 13
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 14
bulletMystery Report 15
bulletMystery Report 16
bulletMystery Report 17
bulletMystery Report 18
bulletMystery Report 19
bulletMystery Report 20
bulletMystery Report 21
bulletMystery Report 22
bulletMystery Report 23
bulletMystery Report 24
bulletMystery World Report 25
bulletศึกษาโลกลี้ลับ 26
bulletเฝ้าดูวัฒนธรรมโลกจากจอแก้ว วิเคราะห์ทุกปัญหาในโลกมนุษย์ด้วยสติปัญญาและเหตุผลวิทยาศาสตร์จากนสพ.ดี
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2536
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2537
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2538
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2539
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2540
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2541
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2542
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2543-2545
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2545-2549
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2549-2550
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2550-ส.ค.2551
bulletเฝ้าดูฯ ส.ค.-ก.ย.2551
bulletเฝ้าดูฯ ก.ย.2551- ธ.ค. 2551
bulletเฝ้าดูฯสำนวนพัชรา กอปรทศธรรม
bulletสำนวนพัชราตอนที่ 16-27
bulletสำนวนพัชราตอนที่ 29
bulletบทความใหม่ เม.ย.-พ.ค.2552
bulletพุทธธรรมเพื่อทางดับทุกข์
bulletทฤษฎีการดับทุกข์ทางจิต วิปัสสนากรรมฐานโดยการทำงาน(สำนวนปรับปรุงใหม่)
bulletประวัติพัชรา กอปรทศธรรม
bulletประวัติการต่อสู้เพื่อการดับทุกข์ ของพัชรา กอปรทศธรรม
bulletอัลบั้มรูป history
bulletนิทานธรรมะประยุกต์ มานุสสาสุระสงคราม 4 ภาค และอื่น ๆ
bulletอัลบั้มรูป ภาพในอดีตและชีวประวัติศาสตร์ที่สวยงาม
bulletจากเวบบอร์ด พูดกันไม่รู้เรื่อง ประชาธิปไตยล้าหลัง
bulletศาสนาสากล การวิเคราะห์ความหมาย
bulletปลอบใจ
dot
รวมบทวิเคราะห์กม.คณะสงฆ์ แนวปฏิรูปคณะสงฆ์อยู่ในบทวิเคราะห์นี้แล้ว
dot
bulletรวมบทวิเคราะห์กม.คณะสงฆ์
dot
สากลจักรวาล สากลศาสนา แนวคิดศาสนาสำหรับคนยุคใหม่ ผู้ก้าวผิดทางไปสู่สิ่งไร้สาระโดยไม่รู้ตัว
dot
bulletสากล...ศาสนา 1
bulletสากล...ศาสนา 2
bulletสากล...ศาสนา 3
bulletสากล...ศาสนา 4
bulletสากล...ศาสนา 5
bulletสากล...ศาสนา 6
bulletสากล...ศาสนา 7
bulletสากล...ศาสนา 9
bulletสากล...ศาสนา 8
bulletสากล...ศาสนา 10
bulletสากล...ศาสนา 11
bulletสากล...ศาสนา 12
bulletสากล...ศาสนา 13
bulletสากล...ศาสนา 14
bulletสากล...ศาสนา 16
dot
ส่วนข้อมูลสำคัญเพื่อการวิจัยการเมืองไทยยุค คมช.-รัฐบาลอภิสิทธิ์
dot
bulletข้อมูลสำคัญยุคคมช.-รัฐบาลอภิสิทธิ์
bulletรายงานสดม็อบสนธิ-จำลอง-ปชป.เป่านกหวีดวันที่1/26ส.ค.2551
bulletรายงานสดม็อบสนธิ-จำลอง-ปชป.เป่านกหวีดวันที่2/27ส.ค.2551
bulletใบปลิว อีเมล์ ในหลวงทรงร้องไห้
bulletข่าวการเมืองแฟ้ม 1
bulletในหลวงเพิ่งทราบข่าวฆ่าประชาชน10เมย.53ทรงร้องไห้
bulletบันทึกลับเสื้อแดงผู้รอดชีวิตจากทำเนียบรัฐบาล
bulletบันทึกลับเสื้อแดงผู้รอดชีวิตจากทำเนียบรัฐบาล
dot
รวมข่าวม็อบการเมืองสนธิ-จำลอง-ปชป.มิ.ย.51-เม.ย.52 นสพ.
dot
bulletข่าวการเมืองแฟ้ม 2
bulletข่าวการเมืองแฟ้ม 3
bulletรวมข่าวม็อบ30มิ.ย.51-23มี.ค.52
bulletเลือดศรีสะเกษบันทึกเรื่องราวรอบด้านเกี่ยวกับเขาพระวิหาร
bulletรายงานการโฆษณาชวนเชื่อในประเทศไทยที่ล้มล้างรัฐบาลทักษิณ
bulletหนังสือพิมพ์ดี ของฟรีให้เปล่ามา20ปีแล้วทั้งเอกสารและอินเทอเนท
bulletหนังสือพิมพ์ดี ( อินเทอเนต ) เล่ม 1 - 44 - ล่าสุด
bulletหน้าที่เก็บไว้
bulletมูลนิธิพระเทพวรมุนี(เสน ปญฺญาวชิโร)
bulletวัดมหาพุทธาราม ศรีสะเกษ บันทึกเหตุการณ์
bulletสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดศรีสะเกษแห่งที่ 1
bulletเกี่ยวกับเวบไซต์ของเรา เราทำเพื่อปัญญาชนโดยแท้
bulletรวมกระทู้เด็ดจากกระดานถามตอบ
bulletคาถาอาคมไสยศาสตร์
bulletกวีนิพนธ์ใหม่
bulletศูนย์ปฏิญญาณละเลิกอบายมุข บัญชีที่ 1- 4


ประวัติโดยย่อหลวงปู่เครื่อง สุภัทโท ศรีสะเกษ

 

 
     

                                              ประวัติหลวงปู่เครื่อง สุภัทโท

 

                   

 

           หลวงปู่เครื่อง สุภัทโท  (นามสกุลเดิม ประถมบุตร) สูติกาลเมื่อวันที่ ๑๕ กรกฏาคม ๒๔๕๓ ตรงกับวันศุกร์ ขึ้น ๙ ค่ำ เดือน ๘ ปีจอ กูมิลำเนาเดิมเกิดที่บ้านค้อ ตำบลกำแพง อำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ  โยมพ่อชื่อ

นายสอน ประถมบุตร โยมแม่ชื่อ นางยม ประถมบุตร มีบุตร-ธิดาทั้งหมด ๑๔ คน  หลวงปู่เครื่อง เป็นบุตรคนที่ ๓

หลังจากจบชั้นประถมศึกษาแล้ว หลวงปู่มีความปรารถนาอย่างแรงกล้าที่จะบวชเป็นสามเณรเพื่อเรียนพระปริยัติธรรม

สืบสานและจรรโลงพระพุทธศาสนา  แต่โยมพ่อไม่อนุญาต   ครั้นอายุได้ ๒๑ ปี จึงได้รับอนุญาตให้อุปสมบทเป็นพระภิกษุ ที่วัดสำโรงน้อย ตำบลหนองห้าง อำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ โดยมีพระครูเทวราชกวีวรญาณ (จูม อาจสาลี) เป็นพระอุปชัฌาย์ พระอาจารย์ใบฏีกาชม เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอาจารย์พรหมา เป็นพระอนุศาสนาจารย์ และได้จำพรรษาแรกอยู่ ณ วัดบ้านค้อ   หลังจากออกพรรษาแล้ว ญาติๆได้ขอร้องหลวงปู่ลาสิกขาบท มาเลี้ยงน้อง แต่เนื่องจากหลวงปู่มีปณิธานเนี่ยวแน่ที่จะอุทิศตนเพื่อพระศาสนาอยู่แล้ว  คำขอร้องของญาติๆจึงไร้ผล

 

             การศึกษาภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติต้องเดินคู่ขนานกัน    หลังจากได้ศึกษาพระปริยัติธรรมอย่างเอาจริงเอาจัง จนสอบนักธรรมชั้นตรี ได้ในปี พ.ศ. ๒๔๗๘  นักธรรมชั้นโท ในปี พ.ศ.๒๔๘๐ และนักธรรมชั้นเอก ในปี พ.ศ. ๒๔๘๓  ต่อจากนั้น หลวงปู่ได้หันกลับมาสนใจในทางปฏิบัติ มากขึ้น โดยมีความเชื่อว่า การปฎิบัติวิปัสสนายกัมมัฎฐานจะมีส่วนฝึกตนให้มีจิตมั่นคง  เข้มแข็ง มีสมาธิ  สามารถที่ปฏิบัติภารกิจน้อยใหญ่ทั้งทางโลกและทางธรรมให้บรรลุเป้าหมายได้อย่างเป็นรูปธรรม  นับว่าสอดคล้องกับพุทธพจน์ที่ว่า ใจเป็นหัวหน้า  ใจเป็นใหญ่ ใจเป็นประธาน จะสำเร็จได้ก็ด้วยใจเท่านั้น

            เพื่อให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าว  ในปี พ.ศ.๒๔๙๐ หลวงปู่ได้เดินทางไปพบหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ที่จังหวัดอุบลราชธานี เพื่อศึกษาแนวทางปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐานจากหลวงปู่มั่น  ช่วงก่อนปี ๒๔๙๓ ได้เดินทางไปศึกษาการปฏิบัติธรรมกับพระอาจารย์อุปัชฌาย์ฉิม วัดบ้านทุ่งไชย อำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ  แม้ว่าหลวงปู่จะได้รับแต่งตั้งเป็น พระอุปัชฌาย์  ในปี พ.ศ. ๒๔๙๐ และดำรงตำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดสระกำแพงใหญ่  ใน พ.ศ.๒๔๙๔  แค่หลวงปู่ก็ไม่เคยเลิกล้มความตั้งใจที่จะบำเพ็ญวิปัสสนากัมมัฎฐานให้เกิดผลเป็นรูปธรรมให้จงได้  เช่น ได้เดินทางไปปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐานกับหลวงพ่อเดิม ที่วัดหนองโพธิ์ อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ ปี พ.ศ. ๒๔๙๔ เดินทางไปศึกษาปฏิบัติธรรมกับหลวงปู่คำมี  พุทธัสสาโร  วัดถ้ำคูหาสวรรค์ จังหวัดลพบุรี  ปี พ.ศ. ๒๔๙๗ เดินทางไปฝีกปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐานกับหลวงพ่อสด วัดปากน้ำภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร และสำเร็จวิชากรรมกาย   ปี พ.ศ.๒๔๙๕-๙๖ เดินทางไปปฎิบัติวืปัสสนากัมมัฏฐานกับพระอาจารย์พระครูญาณโสภิต วัดป่าสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา  และในปี ๒๕๐๐ หลวงปู่ได้มีโอกาสออกธุดงค์ในป่าลึกเขตอำเภอปากช่อง  บริเวณซับม่วง  โดยมีพระครูญาณโสภิต เป็นผู้นำ ร่วมกับพระวิปัสสนาจารย์อีก ๖ รูป โดยปฏิบัติธรรมอยู่ในถ้ำถึง ๖ วัน แม้ว่าสหธรรมิกหลายรูปได้รับเชื้อไข้ป่า

 

                                                                               

มาลาเรีย จนถึงมรณภาพไป ๓ รูป แต่หลวงปู่เครื่อง ก็รอดมาได้อย่างมหัศจรรย์  หลังจากนั้น หลวงปู่ได้เดินทางไปศึกษาและเก็บเกี่ยวประสบการณ์ด้านวิปัสสนากัมมัฏฐานในภูมิภาคต่างๆทั่วไทยอย่างต่อเนื่อง  เช่น จันทบุรี สุราษฏร์ธานี ประจวบคิรีขันธ์  เพื่อนำความรู้และประสบการณ์มาใช้ในการศึกษาและปฏิบัติธรรมของพระภิกษุสามเณรวัดสระกำแพงใหญ่  ซึ่งหลวงปู่ตั้งใจจะพัฒนาให้เป็น  เมืองตักสิลา  ทางด้านพระพุทธศาสนาสืบไป

 

 

               

 

 

              ปณิธานสร้างโรงหล่อหลอมมนุษย์   หลังจากได้กลับมาทำหน้าที่เจ้าอาวาสวัดสระกำแพงใหญ่ และ

หน้าที่พระปัชฌาย์แล้ว  หลวงปู่ได้วางแผนจัดการศึกษาพระปริยัติธรรมทั้งทางด้านปริยัติ และด้านปฏิบัติ เพื่อเปิด

โอกาสให้เด็กและเยาวชนที่ประสงค์จะ บวชเรียน ได้อย่างเต็มที่  โดยเน้นเรื่องการศึกษาซึ่งหลวงปู่ถือว่า  เป็นโรงหล่อหลอมมนุษย์ เป็นอันดับแรก ต่อจากนี้ ได้ส่งเสริมให้มีการปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐานควบคู่กันไป ซึ่งพอสรุปได้ดังนี้

              ๑.ได้จัดตั้ง โรงเรียนพระปริยัติธรรมวัดสระกำแพงใหญ่ (แผนกนักธรรม-บาลี) โดยให้เปิดสอนทั้งแผนกนักธรรม (นธ.ตรี-นธ.เอก)และแผนกบาลี (บาลี ๑- ๒ และ ปธ.๓ ปธ.๙) ในปัจจุบัน พระมหาชัชวาลย์ โอภาโส ปธ.๙ รก.เจ้าอาวาสวัดสระกำแพงใหญ่  เป็นอาจารย์ใหญ่

              ๒.ได้ตั้ง โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษาวัดสระกำแพงใหญ่ (ม.๑-ม.๖) เพื่อให้พระเณรที่ด้อยโอกาสได้ บวชเรียน ทั้งทางโลกและทางธรรมควบคู่กันไป (โรงเรียนวิถีพุทธ)เพื่อให้ผู้เรียน เป็นทั้งคนดี เป็นทั้งคนเก่ง และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ในปัจจุบัน  พระมหาชัชวาลย์ โอภาโส รก.เจ้าอาวาสวัดสระกำแพงใหญ่  เป็นผู้จัดการ และพระมหาสง่า ปภัสสโร เป็นผู้อำนวยการ

             ๓.ได้จัดตั้ง สถาบันการศึกษาแผนกอุดมศึกษา (ห้องเรียน มจร.วัดสระกำแพงใหญ่ ) เพื่อยกระดับเป็น

วิทยาลังฆ์ศรีสะเกษ ในเครือข่ายมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (มจร) ต่อไป ทั้งนี้ โดยได้เปิดสอนปริญญาสาขาต่างๆ เช่น พุทธศาสตร์บัณฑิต เป็นต้น  ในปัจจุบัน พระศรีธรรมนาถมุนี รองเจ้าคณะจังหวัดศรีสะเกษ  เป็นผู้บริหารการศึกษาระดับสูงของสถาบันอุดมศึกษาแห่งนี้

              ๔.ได้ตั้ง ศูนย์วิปัสสนากัมมัฏฐาน  (ศูนย์พุทโธโลยีหลวงปู่เครื่อง เพื่อการศึกษาและปฎิบัติธรรม) เพื่อเป็นแหล่งฝึกวิปัสสนากัมมัฎฐานของพระภิกษุสามเณร และพุทธศาสนิกชนทั่วไป  โดยมุ่งจะให้มีศูนย์เครือข่ายกระจายอยู่ตามท้องถิ่นต่างๆ ทั้งในระดับตำบลและอำเภอในจังหวัดศรีสะเกษ และจังหวัดใกล้เคียง ในปัจจุบัน  ดร.นันทสาร                       สีสลับ  นายกสมาคมศิษย์หลวงปู่เครื่อง สุภัทโท ทำหน้าที่ ผู้อำนวยการศูนย์พุทโธโลยีหลวงปู่เครื่องเพื่อการศึกษาและปฎิบัติธรรม เพื่อดำเนินการส่งเสริมการพัฒนาด้านจิตใจตามแนว พุทโธโลยีหลวงปู่เครื่อง  โดยหลวงปู่ได้กล่าวในโอกาสที่คณะศิษยานุศิษย์และผู้มีจิตศรัทธาได้จัดงานฉลองวาระครบวันสุติกาล ๙๖ ปีของหลวงปู่ เมื่อวันที่ ๑๕ กรกฏาคม ๒๕๔๔ ว่า  จิตที่ไม่ได้ฝึกมามันก็โง่นะซิ จิตที่ฝีกดีแล้ว มันนิ่งสงบเย็น พุทโธโลยีคือจิตที่ฝึกด้วยปัญญา

ได้กำไรมาก เทคโนโลยีคือจิตที่ฝึกด้วยสัญญา ได้กำไรน้อย   ดังนั้น วิปัสสนากัมมัฏฐาน จึงถือได้ว่าเป็น พุทโธโลยี

ที่ฝึกจิตให้ สงบ นิ่ง และเย็น ซึ่งจะมีคุณูปการต่อการเสริมสร้างสันติภาพและสันติสุขในการดำเนินวิถีชีวิตทั้งในระดับ

บุคคล ครอบครัว สังคมท้องถิ่นและสังคมโลกได้อย่างเป็นรูปธรรม

               ในปัจจุบัน มีแนวโน้มที่มีความสนใจปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐานมากขึ้นทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศซึ่งเป็นเรื่องที่ดี เพราะในโลกปัจจุบันเต็มไปด้วยความขัดแย้งและความเครียด พฤติกรรมเบี่ยงเบน ความรุนแรง และโลกภัยไข้เจ็บที่มาจากความเครียด  การเรียนวิชาอย่างเดียวโดยไม่ได้ฝึกจิต ไม่สามารถแก้ปัญหาเ หล่านั้นในคน สมัยใหม่ได้  หรือกลับทำให้เลวร้ายยิ่งขึ้น วิปัสสนากัมมัฏฐานช่วยให้บรรลุอิสรภาพ ความสุข การมีสุขภาพดี มีการเรียนรู้ที่ดี และส่งเสริมการอยู่ร่วมกันด้วยสันติ วิปัสสนากัมมัฏฐานจึงขาดไม่ได้สำหรับเด็กเยาวชนและคนสมัยใหม่

                        น.พ.ประเวศ วะสี  ได้กล่าวไว้ใน ยุทธศาสตร์พระพุทธศาสนากับการพัฒนาประเทศไทย  ตอนหนึ่งว่า ต่อไปคนไม่ปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐานจะกลายเป็นคนเชย สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติและกรมการศาสนา ควรจะทำยุทธศาสตร์ส่งเสริมการปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน ให้วิปัสสนากัมมัฏฐานอยู่ในวิถีชีวิตของคนทั้งหมด

      พุทโธโลยี จิตที่ฝึกด้วยปัญญา  ได้กำไรมาก เทคโนโลยี จิตที่ฝึกด้วยสัญญา ได้กำไรน้อย

หลวงปู่ได้ค้นพบทฤษฎีดังกล่าวด้วยการศึกษาและทดลองปฏิบัติด้วยตนเองเป็นเวลาอันยาวนาน จนถึงวาระสุดท้ายแห่งการละสังขารเมื่อวันที่ ๒๙ กรกฏาคม ๒๕๕๑ ดังนั้น คณะศิษยานุศิษย์จังได้ทำการศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับแนวทาง

 

สืบสานปณิธานหลวงปู่ที่ควารนำมาสานต่อและเผยแผ่ให้เป็นที่ปรากฏแก่สาธารณะให้กว้างขวางยิ่งขึ้นทั้งในและต่างประเทศพุทโธโลยีตามแนวหลวงปู่เครื่อง เป็นมรดกทางความคิดของหลวงปู่ประการหนึ่งที่ควรนำมาสานต่อ โดยเฉพาะในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคตซึ่งกระแสเทคโนโลยีกำลังมาแรงและมีอิทธิผลต่อวิถีชีวิตและวิถีคิดของชาวโลกในปัจจุบัน แต่หลังจากเกิดวิฤตการณ์ทางเศรษฐกิจโลกขึ้นในปัจจุบัน  ก็ทำให้นักปราชญ์และนักคิดของโลกได้วิเคราะห์ผลกระทบจากเทคโนโลยีต่อวิถึชีวิตของชาวโลกและสังคมในปัจจุบันรวมทั้งแนวทางแก้ไข   กระแสพุทโธโลยี ตามแนวคิดของหลวงปู่น่าจะเป็นทางเลือกหนึ่งที่สังคมโลกกำลังให้ความสนใจ การที่  สหประชาชาติจึงได้ประกาศให้วันวิสาขบูชาเป็นวันสำคัญของโลก  เพื่อให้ชาวโลกได้ร่วมแรงร่วมใจกันเสริมสร้างสันติภาพและสันติสุขตามแนวทางพระพุทธศาสนาซึ่งพระพุทธเจ้าได้ปฏิบัติเป็นต้นแบบมาแล้วกว่า ๓๕๐๐ ปีซึ่งก็คือการฝึกและพัฒนาจิตตามหลัก พุทโธโลยีนั่นเอง

 

 

 

            

 

           ธรรมะที่หลวงปู่กล่าวถึงเกี่ยวกับ พุทโธโลยี และ เทคโนโลยี มี ๒ หัวข้อที่ควรให้ความสนใจ และ

ทำความเข้าใจในเบื้องต้นดังนี้

                     ๑.พุทโธโลยี จิตที่ฝีกด้วยปัญญา ได้กำไรมาก  คำว่า ปัญญา ได้มีผู้ให้ความหมายและขอบข่ายไว้มากมาย  พจนานุกรพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์ โดยพระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตโต) ได้ให้ความหมายไว้ว่า ความรู้ทั่วไป, ปรีชาหยั่งรู้เหตุผล, ความรู้ความเข้าใจชัดเจน, ความรู้เข้าใจหยั่งแยกได้ในเหตุผล ดีชั่ว คุณโทษ ประโยชน์มิใช่ประโยชน์ เป็นต้น  แบ่งออกเป็น ๓ ประการคือ

                         (๑)จินตมยปัญญา ปัญญาเกิดแต่การคิดพิจารณาหาเหตุผล

                         (๒)สุตมยปัญญา  ปัญญาเกิดแต่การสดับ การเล่าเรียน

                          (๓)ภาวนามยปัญญา ปัญญาเกิดแต่การฝึกอบรมลงมือปฏิบัติ

                      การฝึกจิตโดยใช้กระบวนการดังกล่าวเรียกว่า พุทโธโลยี  หรือการฝึกจิตด้วยปัญญา

                ๒.เทคโนโลยี จิตที่ฝึกด้วยสัญญา ได้กำไรน้อย   พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับเดียวกันได้ให้คำจำกัด ความว่า สัญญา การกำหนดหมาย, ความจำได้หมายรู้ คือ หมารู้ไว้ซึ่ง รูป เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ และอารมณ์ที่เกิดกับใจว่า เขียว ขาว ดำ แดง เบา เสียงคน เสียงแมว เสียงระฆัง กลิ่นทุเรียน รสมะปราง เป็นต้น  และจำได้คือ รู้จักอารมณ์นั้นว่าเป็นอย่างนั้นๆ ในเมื่อไปพบเข้าอีก(ข้อ ๓ ในขันธ์ ๕)มี ๖ อย่าง ตามอารมณ์ที่หมายรู้นั้น เช่น รูปสัญญา

หมายรู้รูป สัททสัญญา หมายรู้เสียง เป็นต้น ความหมายสามัญในภาษาบาลีว่า เครื่องหมาย ที่สังเกตความสำคัญว่าเป็นอย่างนั้นๆ ในภาษาไทย มักใช้หมายถึงข้อตกลง, คำมั่น

            การฝึกจิตโดยใช้กระบวนการจำได้หมายรู้เรียกว่า เทคโนโลยี  หรือการฝึกจิตด้วยสัญญา

       หลวงปู่สอนนั่งสมาธิ   การสอนหนั่งสมาธิเป็นกระบวนการหนึ่งของวิปัสสนากัมมัฎฐาน หรือ การฝึกจิตด้วย

ปัญญา หรือ พุทโธโลยี ซึ่งได้เรียบเรียงจากเทปบันทึกเสียงของหลวงปู่ที่อบรมพระนวกะวัดสระกำแพงใหญ่ ข้อความและภาพประกอบในแต่ละเรื่องได้ยึดตามแนวที่หลวงปู่ได้สั่งสอนเป็นสำคัญ  ผู้อ่านและศึกษาจำเป็นต้อง

ใช้วิจารณญาณทำความเข้าใจและสังเคราะห์บนพื้นฐานจินตมยปัญญา สุตมยปัญญา และภาวนามยปัญญา จึงจะเกิด

ประฌยชน์สูงสุด และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในวิถีชีวิต วิถีคิด และวิถีการเรียนรู้ ได้อย่างเหมาะสมและมีความสุข

      วิธีตั้งสมฏฐานของลม ทำจิตให้เป็นสมาธิบาทวิปัสสนา

             ๑.กำหนดตั้งสะดือบุรุษ...............................................

 

 

                

 

หมายเหตุจาก เวบมาสเตอร์
ในเวบไซต์ www.newworldbelieve.net

ที่ท่านกำลังชมอยู่นี้ ล้วนมีเรื่องราวเกี่ยวกับ พุทโธโลยี แทบทั้งสิ้น โดยความหมายของ พุทโธโลยี ทั้งที่เป็นสิ่งที่อยู่ในชีวิตประจำวันของคนทั้งหลาย  ตามลำดับไปถึงสิ่งที่เป็นเรื่องโลกตตรธรรมชั้นสูงล้วน ๆ
ในชั้นนี้ เราขอแนะนำให้อ่าน  ศึกษาโลกลี้ลับ เป็นเรื่องต้น ๆ

 




พุทโธโลยี

ข่าวสำคัญวันวิสาขโลก ๘ พฤษภาคม ๒๕๕๒
ขอเชิญนักเรียนมัธยมศึกษาทั่วประเทศเข้าแข่งขันประกวดเรียงความวันวิสาขบูชาโลก
วิสาขบูชา วันสำคัญของโลก
ประวัติละเอียดหลวงปู่เครื่อง สุภทฺโท
สมาคมศิษย์หลวงปู่เครื่อง บทบาทที่กำลังทำอยู่ปี 2552
กำหนดการจัดกิจกรรมเนื่องวันวิสาขบูชา ๒๕๕๒ สมาคมศิษย์หลวงปู่ฯ
ขอเรียนเชิญอาจารย์พัชรา กอปรทศธรรม เป็นเกียรติร่วมงานมอบรางวัลพุทโธโลยีและเวียนเทียนวันวิสาขบูชา ๒๕๕๒
ผู้ชนะการประกวดเรียงความ ขอเชิญรับรางวัลเนื่องในวันวิสาขบูชา ๒๕๕๒ ณ วัดสระกำแพงใหญ่ จังหวัดศรีสะเกษ
ประกาศผลการประกวดเรียงความออนไลน์
ประกาศผลการประกวดวิสัยทัศน์วันวิสาขโลก สมาคมศิษย์หลวงปู่เครื่อง
สำนวนที่ 1 ของนายกวี เดชสมฤทธิ์ฤทัย ร.ร. กรุงเทพคริสเตียน
เรียงความออนไลน์กิติมศักดิ์ ของ อาจารย์พัชรา กอปรทศธรรม
สรุปการประชุมเรื่องยุทธศาสตร์ศาสนทายาท 22 ก.พ. 2552



Copyright © 2010 All Rights Reserved.
----- ***** ----- โปรดใช้บริการการแปลของ Google Translate นี่คือเวบไซต์คู่ www.newworldbelieve.com กับ www.newworldbelieve.net เราให้เป็นเวบไซต์ที่เสนอธรรมะหรือ ความจริง หรือ ความคิดเห็นในเรื่องราวของชีวิต ตั้งใจให้ธัมมะเป็นทาน ให้สิ่งที่เป็นประโยชน์แด่คนทั้งหลาย ทั้งโลก ให้ได้รู้ความจริงของศาสนาต่าง ๆในโลกวันนี้ และได้รู้ศาสนาที่ประเสริฐเพียงศาสนาเดียวสำหรับโลกยุคใหม่ จักรวาลใหม่ เรามีผู้รู้ ผู้ตรัสรู้ ผู้วินิจฉัยสรรพธรรมสรรพวิชชา สรรพศาสน์ และสรรพศาสตร์ พอชี้ทางสู่โลกใหม่ ให้ความสุข ความสบายใจความมีชีวิตที่หลุดพ้นไปสู่โลกใหม่ เราได้อุทิศเนื้อที่ทั้งหมดเป็นเนื้อที่สำหรับธรรมะทั้งหมด ไม่มีการโฆษณาสินค้า มาแต่ต้น นับถึงวันนี้ร่วม 14 ปีแล้ว มาวันนี้ เราได้สร้างได้ทำเวบไซต์คู่นี้จนได้กลายเป็นแดนโลกแห่งความสว่างไสว เบิกบานใจ ไร้พิษภัย เป็นแดนประตูวิเศษ เปิดเข้าไปแล้ว เจริญดวงตาปัญญาละเอียดอ่อน เห็นแต่สิ่งที่น่าสบายใจ ที่ผสานความคิดจิตใจคนทั้งหลายด้วยไมตรีจิตมิตรภาพล้วน ๆ ไปสู่ความเป็นมิตรกันและกันล้วน ๆ วันนี้เวบไซต์นี้ ได้กลายเป็นโลกท่องเที่ยวอีกโลกหนึ่ง ที่กว้างใหญ่ไพศาล เข้าไปแล้วได้พบแต่สิ่งที่สบายใจมีความสุข ให้ความคิดสติปัญญา และได้พบเรื่องราวหลายหลากมากมาย ที่อาจจะท่องเที่ยวไปได้ตลอดชีวิต หรือท่านอาจจะอยากอยู่ณโลกนี้ไปชั่วนิรันดร ไม่กลับออกไปอีกก็ได้ เพียงแต่ท่านเข้าใจว่านี่เป็นแดนต้นเรื่องเป็นด่านข้ามจากแดนโลกเข้าไปสู่อีกโลกหนึ่ง และซึ่งเป็นโลกหรือบ้านของท่านทั้งหลายได้เลยทีเดียว ซึ่งสำหรับคนต่างชาติ ต่างภาษาต่างศาสนา ได้โปรดใช้การแปลของ กูเกิล หรือ Google Translate แปลเป็นภาษาของท่านก่อน ที่เขาเพิ่งประสบความสำเร็จการแปลให้ได้แทบทุกภาษาในโลกมนุษย์นี้แล้ว ตั้งแต่ต้นปีนี้เอง นั้นแหละเท่ากับท่านจะเป็นที่ไหนของโลกก็ตาม ทั้งหมดโลกประมาณ 7.6 พันล้านคนวันนี้ สามารถเข้ามาท่องเที่ยวในโลกของเราได้เลย เราไม่ได้นำท่านไปเที่ยวแบบธรรมดาๆ แต่การนำไปสู่ความจริง ความรู้เรื่องชีวิตใหม่ การอุบัติใหม่สู่ภาวะอริยบุคคล ไปสู่การเปลี่ยนแปลงไปพ้นจากทุกข์ ทั้งหลายไปสู่โลกแห่งความสุขแท้นิรันดร คือโลกนิพพานขององค์บรมศาสดาพุทธศาสนา พระบรมครูพุทธะ องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพียงแต่ท่านโปรดใช้บริการการแปลของ Google Translate ท่านก็จะเข้าสู่โลกนี้ได้ทันทีพร้อมกับคน7.6พันล้านคนทั้งโลกนี้. ----- ***** ----- • หมายเหตุ เอาขึ้นเวบไซต์ แทนของเดิม ทั้ง 2 เวบ .net .com วันที่ 21 เม.ย. 2565 เวลา 07.00 น. -----*****-----