ReadyPlanet.com
dot
dot dot
bulletBUDDHISM TO THE NEW WORLD ERA
bullet1 Thai-ไทย
bullet2.English-อังกฤษ
bullet3.China-จีน
bullet4.Hindi-อินเดีย
bullet5.Russia-รัสเซีย
bullet6.Arab-อาหรับ
bullet7.Indonesia-อินโดนีเซีย
bullet8.Japan-ญี่ปุ่น
bullet9.Italy-อิตาลี
bullet10.France-ฝรั่งเศส
bullet11.Germany-เยอรมัน
bullet12.Africa-อาฟริกา
bullet13.Azerbaijan-อาเซอร์ไบจัน
bullet14.Bosnian-บอสเนีย
bullet15.Cambodia-เขมร
bullet16.Finland-ฟินแลนด์
bullet17.Greek-กรีก
bullet18.Hebrew-ฮีบรู
bullet19.Hungary-ฮังการี
bullet20.Iceland-ไอซ์แลนด์
bullet21.Ireland-ไอร์แลนด์
bullet22.Java-ชวา
bullet23.Korea-เกาหลี
bullet24.Latin-ละติน
bullet25.Loa-ลาว
bullet26.Finland-ฟินแลนด์
bullet27.Malaysia-มาเลย์
bullet28.Mongolia-มองโกเลีย
bullet29.Nepal-เนปาล
bullet30.Norway-นอรเวย์
bullet31.persian-เปอร์เซีย
bullet32.โปแลนด์-Poland
bullet33.Portugal- โปตุเกตุ
bullet34.Romania-โรมาเนีย
bullet35.Serbian-เซอร์เบีย
bullet36.Spain-สเปน
bullet37.Srilanga-สิงหล,ศรีลังกา
bullet38.Sweden-สวีเดน
bullet39.Tamil-ทมิฬ
bullet40.Turkey-ตุรกี
bullet41.Ukrain-ยูเครน
bullet42.Uzbekistan-อุสเบกิสถาน
bullet43.Vietnam-เวียดนาม
bullet44.Mynma-พม่า
bullet45.Galicia กาลิเซียน
bullet46.Kazakh คาซัค
bullet47.Kurdish เคิร์ด
bullet48. Croatian โครเอเซีย
bullet49.Czech เช็ก
bullet50.Samoa ซามัว
bullet51.Nederlands ดัตช์
bullet52 Turkmen เติร์กเมน
bullet53.PunJabi ปัญจาบ
bullet54.Hmong ม้ง
bullet55.Macedonian มาซิโดเนีย
bullet56.Malagasy มาลากาซี
bullet57.Latvian ลัตเวีย
bullet58.Lithuanian ลิทัวเนีย
bullet59.Wales เวลล์
bullet60.Sloveniana สโลวัค
bullet61.Sindhi สินธี
bullet62.Estonia เอสโทเนีย
bullet63. Hawaiian ฮาวาย
bullet64.Philippines ฟิลิปปินส์
bullet65.Gongni-กงกนี
bullet66.Guarani-กวารานี
bullet67.Kanada-กันนาดา
bullet68.Gaelic Scots-เกลิกสกอต
bullet69.Crio-คริโอ
bullet70.Corsica-คอร์สิกา
bullet71.คาตาลัน
bullet72.Kinya Rwanda-คินยารวันดา
bullet73.Kirkish-คีร์กิช
bullet74.Gujarat-คุชราด
bullet75.Quesua-เคซัว
bullet76.Kurdish Kurmansi)-เคิร์ด(กุรมันซี)
bullet77.Kosa-โคซา
bullet78.Georgia-จอร์เจีย
bullet79.Chinese(Simplified)-จีน(ตัวย่อ)
bullet80.Chicheva-ชิเชวา
bullet81.Sona-โซนา
bullet82.Tsonga-ซองกา
bullet83.Cebuano-ซีบัวโน
bullet84.Shunda-ชุนดา
bullet85.Zulu-ซูลู
bullet86.Sesotho-เซโซโท
bullet87.NorthernSaizotho-ไซโซโทเหนือ
bullet88.Somali-โซมาลี
bullet89.History-ประวัติศาสตร์
bullet90.Divehi-ดิเวฮิ
bullet91.Denmark-เดนมาร์ก
bullet92.Dogry-โดกรี
bullet93.Telugu-เตลูกู
bullet94.bis-ทวิ
bullet95.Tajik-ทาจิก
bullet96.Tatar-ทาทาร์
bullet97.Tigrinya-ทีกรินยา
bullet98.Check-เชค
bullet99.Mambara-มัมบารา
bullet100.Bulgaria-บัลแกเรีย
bullet101.Basque-บาสก์
bullet102.Bengal-เบงกอล
bullet103.Belarus-เบลารุส
bullet104.Pashto-พาชตู
bullet105.Fritian-ฟริเชียน
bullet106.Bhojpuri-โภชปุรี
bullet107.Manipur(Manifuri)-มณีปุระ(มณิฟูรี)
bullet108.Maltese-มัลทีส
bullet109.Marathi-มาราฐี
bullet110.Malayalum-มาลายาลัม
bullet111.Micho-มิโช
bullet112.Maori-เมารี
bullet113.Maithili-ไมถิลี
bullet114.Yidsdish-ยิดดิช
bullet115.Euroba-ยูโรบา
bullet116.Lingala-ลิงกาลา
bullet118.Slovenia-สโลวีเนีย
bullet119.Swahili-สวาฮิลี
bullet120.Sanskrit-สันสกฤต
bullet121.history107-history107
bullet122.Amharic-อัมฮาริก
bullet123.Assam-อัสสัม
bullet124.Armenia-อาร์เมเนีย
bullet125.Igbo-อิกโบ
bullet126.History115-ประวัติ 115
bullet127.history117-ประวัติ117
bullet128.Ilogano-อีโลกาโน
bullet129.Eve-อีเว
bullet130.Uighur-อุยกูร์
bullet131.Uradu-อูรดู
bullet132.Esperanto-เอสเปอแรนโต
bullet133.Albania-แอลเบเนีย
bullet134.Odia(Oriya)-โอเดีย(โอริยา)
bullet135.Oromo-โอโรโม
bullet136.Omara-โอมารา
bullet137.Huasha-ฮัวซา
bullet138.Haitian Creole-เฮติครีโอล
bulletคำบูชาพระรัตนตรัย ทำวัตรแปล เช้า-เย็น
bulletChart Showing the Process
bulletบุคคลแห่งปีของหนังสือพิมพ์ดี พ.ศ.2540 - 2566
bulletบุคคลแห่งปีของหนังสือพิมพ์ดี 1
bulletบุคคลแห่งปีของหนังสือพิมพ์ดี 2
bulletบุคคลแห่งปีของหนังสือพิมพ์ดี บุคคลที่ 1 - 188 ปัจจุบัน
bulletหนังสือพิมพ์ดี
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 1
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 2
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 3
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 4
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 5
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 6
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 7
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 8
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 9
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 10
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 11
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 12
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 13
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 14
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 15
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 16
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 17
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 18
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 19
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 20
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 21
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 22
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 23
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 24
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 25
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 26
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 27
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 28
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 29
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 30
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 31
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 32
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 33
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 34
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 35
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 36
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 37
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 38
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 39
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 40
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 41
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 42
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 43
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 44
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 45
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 46
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 47
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 48
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 49
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 50
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 51
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 52
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 53
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 54
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 55
bulletหนังสือพิมพ์ดีเล่มที่ 56
bulletหนังสือพิมพ์ดีเล่มที 57
bulletหนังสือพิมพ์ดีเล่มที 58
bulletหนังสือพิมพ์ดีเล่มที 59
bulletTo The World
bulletENGLISH
bulletUSA
bulletChina
bulletIndia
bullet Mynmar
bullet Cambodia
bullet Loas
bulletSri Lanka
bulletMalaysia
bulletKorea
bulletA Sharp Turn of Believes : Iresearch Iwrite Iread
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 1
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 2
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 3
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 4
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 5
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 6
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 7
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 8
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 9
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 10
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 11
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 12
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 13
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 14
bulletMystery Report 15
bulletMystery Report 16
bulletMystery Report 17
bulletMystery Report 18
bulletMystery Report 19
bulletMystery Report 20
bulletMystery Report 21
bulletMystery Report 22
bulletMystery Report 23
bulletMystery Report 24
bulletMystery World Report 25
bulletศึกษาโลกลี้ลับ 26
bulletเฝ้าดูวัฒนธรรมโลกจากจอแก้ว วิเคราะห์ทุกปัญหาในโลกมนุษย์ด้วยสติปัญญาและเหตุผลวิทยาศาสตร์จากนสพ.ดี
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2536
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2537
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2538
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2539
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2540
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2541
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2542
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2543-2545
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2545-2549
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2549-2550
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2550-ส.ค.2551
bulletเฝ้าดูฯ ส.ค.-ก.ย.2551
bulletเฝ้าดูฯ ก.ย.2551- ธ.ค. 2551
bulletเฝ้าดูฯสำนวนพัชรา กอปรทศธรรม
bulletสำนวนพัชราตอนที่ 16-27
bulletสำนวนพัชราตอนที่ 29
bulletบทความใหม่ เม.ย.-พ.ค.2552
bulletพุทธธรรมเพื่อทางดับทุกข์
bulletทฤษฎีการดับทุกข์ทางจิต วิปัสสนากรรมฐานโดยการทำงาน(สำนวนปรับปรุงใหม่)
bulletประวัติพัชรา กอปรทศธรรม
bulletประวัติการต่อสู้เพื่อการดับทุกข์ ของพัชรา กอปรทศธรรม
bulletอัลบั้มรูป history
bulletนิทานธรรมะประยุกต์ มานุสสาสุระสงคราม 4 ภาค และอื่น ๆ
bulletอัลบั้มรูป ภาพในอดีตและชีวประวัติศาสตร์ที่สวยงาม
bulletจากเวบบอร์ด พูดกันไม่รู้เรื่อง ประชาธิปไตยล้าหลัง
bulletศาสนาสากล การวิเคราะห์ความหมาย
bulletปลอบใจ
dot
รวมบทวิเคราะห์กม.คณะสงฆ์ แนวปฏิรูปคณะสงฆ์อยู่ในบทวิเคราะห์นี้แล้ว
dot
bulletรวมบทวิเคราะห์กม.คณะสงฆ์
dot
สากลจักรวาล สากลศาสนา แนวคิดศาสนาสำหรับคนยุคใหม่ ผู้ก้าวผิดทางไปสู่สิ่งไร้สาระโดยไม่รู้ตัว
dot
bulletสากล...ศาสนา 1
bulletสากล...ศาสนา 2
bulletสากล...ศาสนา 3
bulletสากล...ศาสนา 4
bulletสากล...ศาสนา 5
bulletสากล...ศาสนา 6
bulletสากล...ศาสนา 7
bulletสากล...ศาสนา 9
bulletสากล...ศาสนา 8
bulletสากล...ศาสนา 10
bulletสากล...ศาสนา 11
bulletสากล...ศาสนา 12
bulletสากล...ศาสนา 13
bulletสากล...ศาสนา 14
bulletสากล...ศาสนา 16
dot
ส่วนข้อมูลสำคัญเพื่อการวิจัยการเมืองไทยยุค คมช.-รัฐบาลอภิสิทธิ์
dot
bulletข้อมูลสำคัญยุคคมช.-รัฐบาลอภิสิทธิ์
bulletรายงานสดม็อบสนธิ-จำลอง-ปชป.เป่านกหวีดวันที่1/26ส.ค.2551
bulletรายงานสดม็อบสนธิ-จำลอง-ปชป.เป่านกหวีดวันที่2/27ส.ค.2551
bulletใบปลิว อีเมล์ ในหลวงทรงร้องไห้
bulletข่าวการเมืองแฟ้ม 1
bulletในหลวงเพิ่งทราบข่าวฆ่าประชาชน10เมย.53ทรงร้องไห้
bulletบันทึกลับเสื้อแดงผู้รอดชีวิตจากทำเนียบรัฐบาล
bulletบันทึกลับเสื้อแดงผู้รอดชีวิตจากทำเนียบรัฐบาล
dot
รวมข่าวม็อบการเมืองสนธิ-จำลอง-ปชป.มิ.ย.51-เม.ย.52 นสพ.
dot
bulletข่าวการเมืองแฟ้ม 2
bulletข่าวการเมืองแฟ้ม 3
bulletรวมข่าวม็อบ30มิ.ย.51-23มี.ค.52
bulletเลือดศรีสะเกษบันทึกเรื่องราวรอบด้านเกี่ยวกับเขาพระวิหาร
bulletรายงานการโฆษณาชวนเชื่อในประเทศไทยที่ล้มล้างรัฐบาลทักษิณ
bulletหนังสือพิมพ์ดี ของฟรีให้เปล่ามา20ปีแล้วทั้งเอกสารและอินเทอเนท
bulletหนังสือพิมพ์ดี ( อินเทอเนต ) เล่ม 1 - 44 - ล่าสุด
bulletหน้าที่เก็บไว้
bulletมูลนิธิพระเทพวรมุนี(เสน ปญฺญาวชิโร)
bulletวัดมหาพุทธาราม ศรีสะเกษ บันทึกเหตุการณ์
bulletสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดศรีสะเกษแห่งที่ 1
bulletเกี่ยวกับเวบไซต์ของเรา เราทำเพื่อปัญญาชนโดยแท้
bulletรวมกระทู้เด็ดจากกระดานถามตอบ
bulletคาถาอาคมไสยศาสตร์
bulletกวีนิพนธ์ใหม่
bulletศูนย์ปฏิญญาณละเลิกอบายมุข บัญชีที่ 1- 4


13. สยามพารากอน

รายงานข้อมูลการศึกษา 15 หัวข้อ

 

เรื่องการโฆษณาชวนเชื่อในยุครัฐบาลทักษิณ

รายงานข้อมูลการศึกษาเรื่องการโฆษณาชวนเชื่อในยุครัฐบาลทักษิณ

 

 13  สยามพารากอน

 

 บทความพิเศษ 13  การชุมนุม ต่อต้านรัฐบาล   (13)  เอาประเทศไทยของเราคืนมา   29-30  มี.ค.  49 ม็อบเคลื่อนจาก สะพานมัฆวาน และ  ไปศูนย์การค้าสยามพารากอน การจราจรติดขัดทั้งกรุงสยามพารากอนประกาศปิดตัวเองชั่วคราว วันที่ 30 ม็อบเคลื่อนจากสยามพารากอนไปชุมนุมหน้าอาคาร กกต. ผู้นำม็อบมีความแตกแยก เดิมมีข่าวจะสลายการชุมนุมวันนี้  แต่กลับไม่เลิกการชุมนุม แม้ได้นัดชุมนุมอีกครั้ง 7 เม.ย. 49 ไปแล้ว  คาราวานคนจนบุกเครือเนชั่นให้รับผิดชอบโฆษณาหมิ่นเบื้องสูงในคมชัดลึก

 

 

Research on propaganda aspect 5 comparative study

 

การศึกษาวิจัยบางแง่มุมของการโฆษณาชวนเชื่อในประเทศไทย

เรายังมีแง่มุมที่ต้องติดตามศึกษาต่อไปอีกภายใต้หัวข้อ       Research on propaganda aspect 5 : comparative study    โดยเราจะทำการบันทึกข้อมูลโดยย่อ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบม็อบกลุ่มต่าง ๆ ทั้งม็อบต่อต้านรัฐบาลและสนับสนุนรัฐบาล  รวมทั้งม็อบชนิดหนึ่งที่ไม่เข้านิยามชื่อม็อบ 2 ประเภทนั้น  คือ ม็อบประชาธิปัตย์    เป็นกลุ่มตัวอย่าง  ในสมมติฐานที่สำคัญ ๆ ดังต่อไปนี้  

 

 

กลุ่มที่ 1    ม็อบต่อต้านรัฐบาล 

 

กลุ่มนี้แอบอ้างตนเองว่าเป็น   กลุ่มพันธมิตรเครือข่ายประชาธิปไตย

ชูประเด็นกู้ชาติ และ  เอาประเทศไทยของเราคืนมา  แต่บัดนี้คนก็ไม่ได้เห็นว่าชาติไทยล่มจมหรือตกเป็นเมืองขึ้นของข้าศึกศัตรูที่ไหน สถาบันต่าง ๆ ของชาติก็เดินไปตามปกติ  กีฬาเยาวชนแห่งชาติที่ลำปาง นครลำปางเกมส์ ก็จบลงไปด้วยดี มีความสุขกันทั้งชาติ  การบันเทิงเริงรมย์  การเศรษฐกิจก็ไม่เสียหายอะไรมาก่อน แต่ที่เห็นชัดเจนก็คือ ศูนย์การค้าชั้น 1 ของไทย สยามพารากอน ถึงกับปิดกิจการลงก็เพราะม็อบนี่เองแท้ ๆ แต่ก่อนก็อยู่เจริญรุ่งเรืองดี    แล้วเหตุผลเพื่อการกู้ชาติ เอาประเทศไทยของเราคืนมา ก็ไม่สมเหตุสมผล  เป็นการโฆษณาชวนเชื่อโดยแท้จริง

อ้างว่ารัฐบาลขายชาติ  แต่รัฐบาลก็บริหารไปได้อย่างดี  สามารถแก้ปัญหาทุกชนิดไปได้อย่างดี ยิ่งมีกลุ่มที่ก่อกวน มีขวากหนามอุปสรรค ก็ยิ่งแสดงให้เห็นว่ารัฐบาลนี้มีความสามรถ  ที่ควบคุมม็อบให้อยู่ในความสงบ ในระบอบและระเบียบ  จนประเทศต่าง ๆ ชื่นชมว่า ประเทศไทยเป็นประเทศตัวอย่างของการขัดแย้งทางความคิด แต่ไม่ขัดแย้งทางอาวุธ ทางใช้กำลัง     รัฐบาลจึงแสดงถึงความสุขุมและมองกาลไกล มุ่งประโยชน์ต่อชาติและประชาชนโดยแท้จริง  

 

ในประเด็นวิธีการต่อสู้  จนบัดนี้ก็ยิ่งพิศูจน์ว่า  การต่อสู้ของม็อบต่อต้านรัฐบาลไม่ได้เป็นไปตามกติกาของระบอบประชาธิปไตยเลย  แต่อาศัยช่องว่างของระบอบโดยหลักว่า  Majority rule Minority right  อ้างสิทธิของตนในฐานะชนส่วนน้อย ทำการโฆษณา  แต่ทำการโฆษณาชวนเชื่อมาตลอด  และยังใช้ความพยายามทุกวิถีทางที่จะก่อกวนโดยใช้ช่องว่างทางกฎหมายทุกชนิด ทำการก่อกวนและมุ่งร้ายต่อรัฐบาลอย่างไม่สิ้นสุด

 

มีเป้าหมายอย่างเด็ดเดี่ยวโดยไร้เหตุผลเพียงว่า  ต้องการกำจัดบุคคลที่ตนเกลียดชังเป็นการส่วนตัว นั่นคือ   พ.ต.ท.ทักษิณออกไป 

 

เดิมให้ทักษิณออกไปจากการเมืองไทยอย่างเบ็ดเสร็จ โดยให้อพยพครอบครัวออกจากประเทศไทยไปด้วย  ให้พ้นจากความเป็นชาวไทยไปด้วยเลย  และขีดเส้นตายให้ครั้งแล้วครั้งเล่า  เพราะเพ้อฝันว่าจะกดดันได้ จนบัดนี้ก็ขีดเส้นตายให้ก่อนการเลือกตั้งอีกครั้งหนึ่ง

 

ม็อบกลุ่มนี้ไม่ยอมรับในสิทธิของคนอื่น ตั้งตนเป็นหมู่และยึดกฎหมู่ของตนฝ่ายเดียวเป็นหลักการทั้งหมด

 

ดังจะเห็นว่ามีคณะผู้ตัดสินสูงสุดของตน 5 คน มี  สนธิ ลิ้มทองกุล  จำลองศรีเมือง เป็นต้น ตั้งตนเป็นศาลเตี้ย(คือใช้กฎหมู่หรือกฎโจรไปตัดสินบุคคลในระบอบของบ้านเมือง)   ดำเนินการเองทั้งหมดดังนี้

 

ขั้นที่  1   ตั้งข้อกล่าวหาเอง       ว่าหัวหน้ารัฐบาลขายชาติ

 

ขั้นที่  2   ตัดสิน พิพากษาเองถึงที่สุด   ว่าหัวหน้ารัฐบาลขายชาติ

 

ขั้นที่  3   พยายามจะบังคับคดีเอง   เพื่อไล่หัวหน้ารัฐบาลออกไปจากประเทศไทยและพ้นจากความเป็นคนไทย

 

ระยะหลังสุด ก่อนวันเลือกตั้ง 2 เม.ย. 2549 เร่งทวีการโฆษณาชวนเชื่อ อย่างยกระดับขึ้นไปสูงสุด คือล้างสมองคนระดับสูง โดยโฆษณาบิดเบือนข้อเท็จจริงอย่างแนบเนียนยิ่งขึ้น ระดมนักพูดมาจากหลายสถาบันโดยเฉพาะหลายคนมาจากสถาบันการอุดมศึกษา ที่ล้วนแต่มีความหลังแห่งความคั่งแค้นมาระบายในหมู่พวกตนเอง

 

และชัดเจนว่า ใช้วิธีการโฆษณาชวนเชื่อ  คือ ฝันว่าจะเป็นจริงเช่นนั้น  และครั้นปลุกระดมคนไปจำนวนมากก็เกิดความฝันร่วมกันทั้งหมู่ขึ้นมา

 

นับว่ากลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่ตกอยู่ใต้ผลการปลุกระดมโฆษณาชวนเชื่ออย่างแท้จริง

เพราะหลอกลวงคนอื่นและหลอกลวงตนเองอย่างสมบูรณ์

 

 

  

กลุ่มที่  2  ม็อบประชาธิปัตย์

 

เราจะนิยามม็อบประชาธิปัตย์ก่อน  ว่าเป็นม็อบกลุ่มหนึ่ง โดยเหตุผลต่อไปนี้

 

เหตุผลที่ 1       พรรคประชาธิปัตย์ ไม่ได้ส่งสมาชิกพรรคลงสมัครรับเลือกตั้งในครั้งนี้  แต่เที่ยวไปเปิดการปราศรัยดั่งว่าเปิดไฮปาร์คหาเสียงเลือกตั้งให้กับตนเอง ทั้ง ๆที่ไม่ได้เป็นตัวเลือกหนึ่งสำหรับประชาชนในกิจกรรมทางการเมืองจริง ๆ เลย  ก็จะเรียกว่ากลุ่มการเมืองไม่ได้

 

เหตุผลที่ 2     ไม่ได้เสนอนโยบายของพรรคต่อประชาชนแต่อย่างใด  เพราะตนไม่ได้ลงสมัครรับเลือกตั้ง

 

 แต่เมื่อถามว่าแล้วไปพูดอะไรให้ประชาชนฟัง

  

เท่าที่มีข้อมูลก็คือโจมตีพรรครัฐบาล  ก่อกวนอย่างถึงที่สุดเพื่อไม่ให้พรรครัฐบาลได้รับการเลือกตั้งตามเป้าหมาย    ที่ไม่ชอบธรรมตามระบอบประชาธิปไตยเลยก็คือ ไปปลุกม็อบเพื่อปราศรัย  แล้วชักชวนให้ประชาชนไปกาบัตรช่องไม่เลือกพรรคใด

  

จะเห็นว่า ม็อบกลุ่มนี้  ไม่ได้มองปัญหาเชิงนโยบายของพรรคการเมืองเลย จนน่าสนใจศึกษาว่าบางทีพรรคประชาธิปัตย์อาจจะยังไม่รู้ว่านโยบายคืออะไรด้วยซ้ำไป พอเห็นร่องรอยดังว่านี้ในขณะที่พรรคนี้ได้โอกาสเป็นรัฐบาลมาหลายครั้ง   การไม่รู้นโยบาย หมายความว่า ไม่รู้ว่าจะทำอะไรนั้นเอง  ซึ่งนับว่าเป็นการเสี่ยงอย่างยิ่งที่จะให้บุคคลที่ไม่รู้ว่าจะทำอะไรไปปกครองประเทศ และนั่นหมายความว่าไม่รู้ว่าบุคคลอื่นรัฐบาลอื่นทำอะไรไว้  แล้วตนจะสานต่อไปได้อย่างไร และแม้กระทั่งจะให้มีสิทธิในการแนะนำให้ความรู้ประชาธิปไตยแก่ประชาชนก็ไม่ควร เพราะอาจไปแนะนำประชาชนอย่างผิด ๆ ไปก็ได้

 

  

เหตุผลที่ 3 ไม่มีการวิเคราะห์นโยบายของรัฐบาลที่ให้แด่ประชาชนในส่วนรวมว่าเป็นอย่างไร สัมฤทฺธิ์ผลเป็นที่พอใจของประชาชนเพียงใด  และไม่มีนโยบายของม็อบที่ให้เป็นตัวเลือกแด่ประชาชน

 

เพราะแท้จริงแล้วนิยามเรื่องความเห็นที่แตกต่างในทางการเมืองนั้น มีความหมาย 2 ด้าน 

 

ด้านที่ 1 หมายถึงมีการสร้างนโยบายที่แตกต่าง 

พรรคการเมืองย่อมมีหลายพรรคแต่ละพรรคย่อมสร้างนโยบายแตกต่างกันไปหลายหลากให้เลือกได้ และ

 

ด้านที่ 2 ประชาชนแต่ละกลุ่มแต่ละพวก ที่จำแนกตามกลุ่มผลประโยชน์ต่าง ๆ ในสังคม(interest groups) ย่อมคิดแตกต่างไปตามปัญหาของแต่ละกลุ่มแต่ละพวก   และไปจบลงที่มีนโยบายหลายหลากให้เลือกได้  และมีการเลือกนโยบายได้ 

 

คนทั้งหลายตามระบอบประชาธิปไตย จึงมีจุดที่จบและยอมรับกันได้  ความเห็นที่แตกต่างจึงไม่เป็นอันตรายต่อสังคม  เมื่อทุกฝ่ายยอมรับในกติกาของการเลือก  โดยมีสิทธิเลือกนโยบายที่ตรงกับผลประโยชน์ของแต่ละกลุ่มผลประโยชน์ของใครของมัน

แต่พรรคประชาธิปัตย์ไม่มีนโยบาย ไม่เคยมีนโยบายให้ประชาชนเลือก พวกเขาไม่เข้าใจการเมืองในเชิงความแตกต่างทางนโยบาย

 

และการที่ประชาชนแตกต่างในเหตุผลที่จะเลือกนโยบายอันหลายหลากนั้น

  

เหตุผลที่ 4  ในด้านการโฆษณาชวนเชื่อ  จะเห็นว่าพราวไปด้วยหลักการพูดในร่องรอยของการโจมตีด้วยฝีปากล้วน ๆ   อันเป็นอาวุธสำคัญของการโฆษณาชวนเชื่อ  และแผนดาวกระจาย  ซึ่งเลียนมาจากหลัก    จรยุทธในยุทธศาสตร์ป่าล้อมเมืองของเดิม

 

จึงมีข้อน่าสนใจอยู่ว่า  พรรคประชาธิปัตย์ ที่ออกไปจากเวทีการแข่งขันไปแล้ว  มีความชอบธรรมเพียงใดในการมาเปิดเวทีต่อต้านพรรคการเมืองคู่แข่งในอดีตของตนอยู่เช่นนี้  อันเป็นเชิงการให้ร้ายพรรคการเมืองอื่นที่มีความชอบธรรมในการเลือกตั้ง

 

เพราะการเลือกตั้งนั้น  คือการเลือกนโยบาย

 

นโยบายอย่างไร?

 

เช่น นโยบายยางอย่างไร?  เป็นต้น

 

ขณะนี้พรรคประชาธิปัตย์ก็เพียงแต่ตำหนิพรรคการเมืองอื่น  คนอื่น  แต่ครั้นจะเสนอนโยบายว่า  ทำอย่างไรหากรัฐบาลนี้(ทักษิณ) พ้นจากตำแหน่งไป  พรรคประชาธิปัตย์จะสร้างสรรค์นโยบายอย่างไร จึงจะให้ราคายางยังคงอยู่ที่ 70 บาทต่อกิโลกรัมต่อไป พรรคประชาธิปัตย์ก็ไม่ได้พูด  ไม่มีนโยบายเกี่ยวกับราคายางเป็นของตนเอง   หมายความว่าไม่รู้จะทำอย่างไรนั่นเอง

 

ในเรื่องผลงานของพรรคประชาธิปัตย์   เมื่อเกิดสินามิขึ้น ใน 26 พ.ย. 2547  ส.ส.พรรคประชาธิปัตย์ในภาคใต้หลบซ่อนไปหมด เพราะโดยข้อเท็จจริง ภาคใต้มีสส.แทบทั้งหมดเป็นคนของประชาธิปัตย์ แต่กลับไม่เห็นมีผลงานการช่วยเหลือประชาชนแต่อย่างใดเลย อย่างน้อยก็น่าจะเห็นความร่วมมือกันกอบกู้ทุกข์ของประชาชนในยามวิบัติบ้าง  โดยในสถานการณ์ร้ายแรงเช่นนี้  ทุกฝ่ายย่อมร่วมมือกันกอบกู้ประชาชน แต่ไม่เคยเห็นหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และทั้งหัวหน้าคณะที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์  ออกมาร่วมมือกับฝ่ายรัฐบาล  กอบกู้ทุกข์ของประชาชนเลย  

 

นี่ก็แสดงความหมายอีกครั้งหนึ่งว่าประชาธิปัตย์ทำงานไม่เป็นสักอย่าง  ดีอย่างเดียวคือ การคอยจับผิดคนอื่น เอาดีใส่ตัวเอาชั่วใส่คนอื่น  คอยแต่จะจับผิด ไล่ตำหนิรัฐบาลที่ทำงานหนัก ซึ่งในระยะนั้น  แม้กระทั่งประเทศสหรัฐอเมริกา พรรครัฐบาลและพรรคฝ่ายค้านยังร่วมมือกันเดินทางมาประเทศไทยเพื่อพิจารณาให้ความช่วยเหลือ (คนไทยก็เห็นกันจะแจ้งว่า มีบุช คนพ่อแห่งรีพับลิกพรรครัฐบาล กับ คลินตั้นแห่งเดโมแครตพรรคฝ่ายค้านเดินทางมาไทยในคณะเดียวกัน  นั่นคือความเจริญทางการเมืองของประเทศเขาที่ควรเอาอย่าง)     นั่นคือบทเรียนของความร่วมมือในปัญหาร่วมกันแห่งชาติ   แต่พรรคประชาธิปัตย์ไร้น้ำใจเช่นนี้  ไร้ความเป็นนักกีฬาทางการเมืองโดยสิ้นเชิง  จึงพบความตกต่ำลงไปเรื่อย ๆ และบทบาทในขณะนี้ จึงไม่น่าจะเรียกได้ว่ากลุ่มการเมือง  ก็เรียกได้เพียงว่า  กลุ่มม็อบต่อต้านรัฐบาลเท่านั้น 

 

 

กลุ่มที่ 3  คาราวานคนจน   แห่งสวนจตุจักร  กลุ่มนี้แม้จะมาจากเหนือและอีสานส่วนใหญ่ แต่แท้ที่จริงมีกลุ่มกรุงเทพและคนทั่วทุกภาคและทุกฐานะร่วมชุมนุมอยู่    เมื่อศึกษาแล้วพบว่ากลุ่มนี้พอที่จะเรียกได้ว่าเป็นกลุ่มการเมืองโดยแท้จริง และนั่นหมายความว่า  มีความชอบธรรมอย่างยิ่งที่กลุ่มนี้จะเคลื่อนไหว  โดยได้สิทธิอันสมบูรณ์และชอบธรรมที่สุดของระบอบประชาธิปไตย  เพราะเหตุผลสั้น ๆ ที่พวกเขาประกาศออกไปอย่างเปิดเผยก็คือ  เขาต้องการให้พรรคไทยรักไทยกลับเข้ามา  เพื่อสานสร้างนโยบายต่าง ๆ ที่ค้างอยู่ขณะนี้  ให้เดินต่อไป เขาย้ำนโยบายสำคัญ ๆ ที่พวกเขาต้องการ นั่นคือ  30 บาททุกโรค, หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์,  ทุนการศึกษาคนจนเรียนก่อนจ่ายทีหลัง, นโยบายบ้านเอื้ออาทร,  นโยบายเศรษฐกิจพอเพียง, สหกรณ์การเกษตร,  ขจัดความยากจนทั่วประเทศ, เมกกะโปรเจกต์เพื่อการมีงานทำ ,  SML,   ฯลฯ

 

และโดยการมองของคนกลุ่มนี้เขายังมองไม่เห็นว่าจะมีพรรคการเมืองอื่นอาจจะเข้ามาสานนโยบายเหล่านี้ได้  ฉะนั้น นี่จึงเป็นวิถีทางการต่อสู้เพื่อผลประโยชน์ของเขาตามหลักกลุ่มผลประโยชน์  ( interest group)โดยชอบธรรม และต้องตามกติการของระบอบประชาธิปไตยสากลทุกประการ และนอกจากมีความชอบธรรมอย่างยิ่งแล้วยังเป็นแบบอย่างการต่อสู้ทางการเมืองของประชาชนในมิติก้าวหน้าอีกด้วย

 

ประเด็นอื่นในการมองคาราวานคนจนก็คือ การดำเนินงานของกลุ่ม  เป็นธรรมชาติ  และมีความจริงใจ  เห็นได้จาก  ทุกคนมีเป้าหมายร่วมกันที่นโยบาย  มีเหตุผลทางการเมืองที่ชัดเจนว่า  เขาต้องการนายกรัฐมนตรีที่ชื่อทักษิณ เพื่อให้ทำอะไร และมีเหตุผลชัดเจนเมื่อเปรียบเทียบกับพรรคการเมืองฝ่ายค้าน คือพรรคประชาธิปัตย์  เขามองว่าพรรคประชาธิปัตย์ไม่มีการเสนอนโยบายให้ประชาชนเลือก และไม่มีผลงานอะไรเลย จึงจำเป็นต้องยืนยันให้รัฐบาลเดิมบริหารนโยบายสำคัญ ๆ เหล่านั้นต่อไปให้ได้

 

กลุ่มที่ 4  ม็อบไล่จำลอง   ที่จังหวัดกาญจนบุรี  แม้ว่าคนกลุ่มนี้จะมิได้แสดงว่าเป็นกลุ่มการเมืองอย่างชัดเจน  เพราะเป้าหมายคือ  ไล่พล.ต.จำลอง ศรีเมืองคนเดียวออกไปจากจังหวัดกาญจนบุรี และห้ามเข้ากาญจนบุรีอีกต่อไป  เหตุผลเท่าที่เปิดเผยก็คือ  พล.ต.จำลอง ไม่ได้สร้างความเจริญอะไรแก่กาญจนบุรี  และเมื่ออ้างกองทัพธรรมมาไล่ทักษิณ อีกแล้ว ชาวกาญจนบุรีผู้มีความเป็นธรรมก็รับไม่ได้ ว่าเป็นธรรมะอย่างไร  แต่เมื่อพิจารณาว่า  ชาวกาญจนบุรีรักทักษิณ เพราะชอบนโยบายทักษิณ  และไม่เห็นด้วยกับพล.ต.จำลองที่จะให้ นรม.ทักษิณลาออกไปจากวงการเมืองไทย  ยังเห็นได้ว่าเป็นกลุ่มการเมือง โดยนัยยะของการรู้พิจารณาที่นโยบายของรัฐบาล ว่าเป็นผลประโยชน์แก่ประชาชนอย่างไรบ้าง และหวงแหนรัฐบาลที่ทำนโยบายถูกกับความต้องการของพวกเขา ก็มองได้ว่า มีความชอบธรรมตามกฎกติกาของระบอบประชาธิปไตย ในความหมายของการต่อสู้เพื่อนโยบาย

 

กลุ่มที่ 5     ม็อบสันติอโศก  นำโดยโพธิรักษ์  กลุ่มนี้ไม่มีนิยามคำว่า การเมือง  ไม่มีนิยามคำว่า ศาสนา   ไม่มีนิยามคำว่า  หน้าที่  แต่ก็ออกมาร่วมเคลื่อนไหว  จนดูประหนึ่งถูกจูงจมูก  ถูกครอบงำด้วยการโฆษณาชวนเชื่อ  ประกอบด้วยอัตตามาก  อยากอวดโอ่โฆษณาตัวเอง   และที่สำคัญ  เป็นม็อบแค้นกลุ่มหนึ่งเหมือนกัน(ตามผลการศึกษาคราวที่แล้ว)   น่าเป็นกลุ่มที่ควรติดตามมองต่อไป

 

 

ข้อสรุป   นี่คือการศึกษาจากประเด็นง่าย ๆ ที่สุด และสามารถสังเกตเก็บข้อมูลได้โดยการเฝ้ามองทางโทรทัศน์เท่านั้น  ก็พอที่จะหาข้อสรุปได้โดยทันที  และเมื่อประเมินตามหลักการเมืองแล้ว  จะพบโดยชัดเจนว่ากลุ่มม็อบกลุ่มไหนที่มีเป้าหมายทางการโฆษณาชวนเชื่อ  และกลุ่มไหนที่มีเป้าหมายทางการเมือง ที่เป็นการรวมตัวของกลุ่มผลประโยชน์(interest groups) ที่ต่อสู้เพื่อปกป้องผลประโยชน์ของตนโดยชอบธรรมตามหลักวิชาการเมือง

       

เราจะพบว่ากลุ่มม็อบแค้นไล่รัฐบาลทักษิณที่อ้างตนว่าเป็น กลุ่มพันธมิตรเครือข่ายประชาธิปไตย  กลับไม่เห็นว่ามีความเป็นประชาธิปไตยอยู่เลย และเมื่อพิจารณาวิธีการต่อสู้  ที่ใช้การโฆษณาชวนเชื่อเป็นหลักในการต่อสู้ (ใช้ข่าวลือ,  ปลุกระดม, ล้างสมอง, วางแผนลับ,  ซ่อนกล,  สร้างภาพ,  อ้างสถาบัน, สร้างสถานการณ์, จรยุทธ ฯลฯ) ยิ่งจะเห็นชัดว่า เป็นเพียงกลุ่มม็อบที่ก่อกวนการเมืองของชาติให้วุ่นวายโดยแท้จริง พวกเขาไม่มีการต่อสู้ด้านนโยบายการเมืองใดใดเลย  ทั้งเป็นกลุ่มชนที่ไม่อาจระบุโดยแน่ชัดว่าเป็นกลุ่มคัดค้านหรือสนับสนุนนโยบายใดใดของพรรคการเมืองใด   การเรียกชื่อตนว่า  กลุ่มพันธมิตรเครือข่ายประชาธิปไตย  ก็ไม่ตรงกับพฤติกรรมจริงที่ทำอยู่   เพราะพฤติกรรมจริงนั้นคือการก่อกวน พยายามใช้กฎหมู่แทนกฎหมายบ้านเมืองอย่างแท้จริง

 

และพฤติกรรมเช่นนี้มีแต่ประชาชนทั้งปวง ผู้รู้จักเลือกนโยบาย ที่สนับสนุนนโยบาย ร่วมมือกัน โดยมีอำนาจรัฐสนับสนุนตามกฎกติกา กฎหมายของบ้านเมือง เท่านั้น จึงจะนำบ้านเมืองกลับคืนมาสู่ความสงบเรียบร้อย  และถูกใจของประชามหาชน.

 

 

* แฟ้ม สำรอง :  research on propaganda aspect 5 comparative study

 

บานไม่รู้โรย                                               

www.newworldbelieve.com

30  มี.ค. 2549

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 




รายงานการศึกษา การโฆษณาชวนเชื่อล้มล้างรัฐบาลทักษิณ 15 หัวข้อการศึกษา

1. ไม่เหมือนสถานการณ์ 14 ต.ค.16
2. ไม่มีโอกาสต่อรอง-ไม่ชนะไม่เลิก
3.ข่าวลือยุคอุตสาหกรรมข่าวมาพร้อมอันตราย
4. หลอกเด็กเยาวชนมาร่วมงานสกปรก
5. อย่าให้เป็นเหมือนอิรัควันนี้
6. เคลื่อนจากลานพระบรมรูปสู่สนามหลวง
7. ปลุกระดมเอาประเทศไทยของเราคืนมา
8. สงครามจิตวิทยา-Psychological warfare
9. ปลุกระดมให้ต่อสู้อย่างยาวนานถึงชาติหน้า
10. สถานการณ์ของชนชั้นนักวิชาการ
11. มองแง่การศาสนา
12. จากสนามหลวงสู่ทำเนียบรัฐบาลนายกฯหนี
14. วิเคราะห์จำแนกประเภทกลุ่มม็อบ
15. การเลือกตั้ง 2 เมษายน 2549



Copyright © 2010 All Rights Reserved.
----- ***** ----- โปรดใช้บริการการแปลของ Google Translate นี่คือเวบไซต์คู่ www.newworldbelieve.com กับ www.newworldbelieve.net เราให้เป็นเวบไซต์ที่เสนอธรรมะหรือ ความจริง หรือ ความคิดเห็นในเรื่องราวของชีวิต ตั้งใจให้ธัมมะเป็นทาน ให้สิ่งที่เป็นประโยชน์แด่คนทั้งหลาย ทั้งโลก ให้ได้รู้ความจริงของศาสนาต่าง ๆในโลกวันนี้ และได้รู้ศาสนาที่ประเสริฐเพียงศาสนาเดียวสำหรับโลกยุคใหม่ จักรวาลใหม่ เรามีผู้รู้ ผู้ตรัสรู้ ผู้วินิจฉัยสรรพธรรมสรรพวิชชา สรรพศาสน์ และสรรพศาสตร์ พอชี้ทางสู่โลกใหม่ ให้ความสุข ความสบายใจความมีชีวิตที่หลุดพ้นไปสู่โลกใหม่ เราได้อุทิศเนื้อที่ทั้งหมดเป็นเนื้อที่สำหรับธรรมะทั้งหมด ไม่มีการโฆษณาสินค้า มาแต่ต้น นับถึงวันนี้ร่วม 14 ปีแล้ว มาวันนี้ เราได้สร้างได้ทำเวบไซต์คู่นี้จนได้กลายเป็นแดนโลกแห่งความสว่างไสว เบิกบานใจ ไร้พิษภัย เป็นแดนประตูวิเศษ เปิดเข้าไปแล้ว เจริญดวงตาปัญญาละเอียดอ่อน เห็นแต่สิ่งที่น่าสบายใจ ที่ผสานความคิดจิตใจคนทั้งหลายด้วยไมตรีจิตมิตรภาพล้วน ๆ ไปสู่ความเป็นมิตรกันและกันล้วน ๆ วันนี้เวบไซต์นี้ ได้กลายเป็นโลกท่องเที่ยวอีกโลกหนึ่ง ที่กว้างใหญ่ไพศาล เข้าไปแล้วได้พบแต่สิ่งที่สบายใจมีความสุข ให้ความคิดสติปัญญา และได้พบเรื่องราวหลายหลากมากมาย ที่อาจจะท่องเที่ยวไปได้ตลอดชีวิต หรือท่านอาจจะอยากอยู่ณโลกนี้ไปชั่วนิรันดร ไม่กลับออกไปอีกก็ได้ เพียงแต่ท่านเข้าใจว่านี่เป็นแดนต้นเรื่องเป็นด่านข้ามจากแดนโลกเข้าไปสู่อีกโลกหนึ่ง และซึ่งเป็นโลกหรือบ้านของท่านทั้งหลายได้เลยทีเดียว ซึ่งสำหรับคนต่างชาติ ต่างภาษาต่างศาสนา ได้โปรดใช้การแปลของ กูเกิล หรือ Google Translate แปลเป็นภาษาของท่านก่อน ที่เขาเพิ่งประสบความสำเร็จการแปลให้ได้แทบทุกภาษาในโลกมนุษย์นี้แล้ว ตั้งแต่ต้นปีนี้เอง นั้นแหละเท่ากับท่านจะเป็นที่ไหนของโลกก็ตาม ทั้งหมดโลกประมาณ 7.6 พันล้านคนวันนี้ สามารถเข้ามาท่องเที่ยวในโลกของเราได้เลย เราไม่ได้นำท่านไปเที่ยวแบบธรรมดาๆ แต่การนำไปสู่ความจริง ความรู้เรื่องชีวิตใหม่ การอุบัติใหม่สู่ภาวะอริยบุคคล ไปสู่การเปลี่ยนแปลงไปพ้นจากทุกข์ ทั้งหลายไปสู่โลกแห่งความสุขแท้นิรันดร คือโลกนิพพานขององค์บรมศาสดาพุทธศาสนา พระบรมครูพุทธะ องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพียงแต่ท่านโปรดใช้บริการการแปลของ Google Translate ท่านก็จะเข้าสู่โลกนี้ได้ทันทีพร้อมกับคน7.6พันล้านคนทั้งโลกนี้. ----- ***** ----- • หมายเหตุ เอาขึ้นเวบไซต์ แทนของเดิม ทั้ง 2 เวบ .net .com วันที่ 21 เม.ย. 2565 เวลา 07.00 น. -----*****-----