ReadyPlanet.com
dot
dot dot
bulletBUDDHISM TO THE NEW WORLD ERA
bullet1 Thai-ไทย
bullet2.English-อังกฤษ
bullet3.China-จีน
bullet4.Hindi-อินเดีย
bullet5.Russia-รัสเซีย
bullet6.Arab-อาหรับ
bullet7.Indonesia-อินโดนีเซีย
bullet8.Japan-ญี่ปุ่น
bullet9.Italy-อิตาลี
bullet10.France-ฝรั่งเศส
bullet11.Germany-เยอรมัน
bullet12.Africa-อาฟริกา
bullet13.Azerbaijan-อาเซอร์ไบจัน
bullet14.Bosnian-บอสเนีย
bullet15.Cambodia-เขมร
bullet16.Finland-ฟินแลนด์
bullet17.Greek-กรีก
bullet18.Hebrew-ฮีบรู
bullet19.Hungary-ฮังการี
bullet20.Iceland-ไอซ์แลนด์
bullet21.Ireland-ไอร์แลนด์
bullet22.Java-ชวา
bullet23.Korea-เกาหลี
bullet24.Latin-ละติน
bullet25.Loa-ลาว
bullet26.Finland-ฟินแลนด์
bullet27.Malaysia-มาเลย์
bullet28.Mongolia-มองโกเลีย
bullet29.Nepal-เนปาล
bullet30.Norway-นอรเวย์
bullet31.persian-เปอร์เซีย
bullet32.โปแลนด์-Poland
bullet33.Portugal- โปตุเกตุ
bullet34.Romania-โรมาเนีย
bullet35.Serbian-เซอร์เบีย
bullet36.Spain-สเปน
bullet37.Srilanga-สิงหล,ศรีลังกา
bullet38.Sweden-สวีเดน
bullet39.Tamil-ทมิฬ
bullet40.Turkey-ตุรกี
bullet41.Ukrain-ยูเครน
bullet42.Uzbekistan-อุสเบกิสถาน
bullet43.Vietnam-เวียดนาม
bullet44.Mynma-พม่า
bullet45.Galicia กาลิเซียน
bullet46.Kazakh คาซัค
bullet47.Kurdish เคิร์ด
bullet48. Croatian โครเอเซีย
bullet49.Czech เช็ก
bullet50.Samoa ซามัว
bullet51.Nederlands ดัตช์
bullet52 Turkmen เติร์กเมน
bullet53.PunJabi ปัญจาบ
bullet54.Hmong ม้ง
bullet55.Macedonian มาซิโดเนีย
bullet56.Malagasy มาลากาซี
bullet57.Latvian ลัตเวีย
bullet58.Lithuanian ลิทัวเนีย
bullet59.Wales เวลล์
bullet60.Sloveniana สโลวัค
bullet61.Sindhi สินธี
bullet62.Estonia เอสโทเนีย
bullet63. Hawaiian ฮาวาย
bullet64.Philippines ฟิลิปปินส์
bullet65.Gongni-กงกนี
bullet66.Guarani-กวารานี
bullet67.Kanada-กันนาดา
bullet68.Gaelic Scots-เกลิกสกอต
bullet69.Crio-คริโอ
bullet70.Corsica-คอร์สิกา
bullet71.คาตาลัน
bullet72.Kinya Rwanda-คินยารวันดา
bullet73.Kirkish-คีร์กิช
bullet74.Gujarat-คุชราด
bullet75.Quesua-เคซัว
bullet76.Kurdish Kurmansi)-เคิร์ด(กุรมันซี)
bullet77.Kosa-โคซา
bullet78.Georgia-จอร์เจีย
bullet79.Chinese(Simplified)-จีน(ตัวย่อ)
bullet80.Chicheva-ชิเชวา
bullet81.Sona-โซนา
bullet82.Tsonga-ซองกา
bullet83.Cebuano-ซีบัวโน
bullet84.Shunda-ชุนดา
bullet85.Zulu-ซูลู
bullet86.Sesotho-เซโซโท
bullet87.NorthernSaizotho-ไซโซโทเหนือ
bullet88.Somali-โซมาลี
bullet89.History-ประวัติศาสตร์
bullet90.Divehi-ดิเวฮิ
bullet91.Denmark-เดนมาร์ก
bullet92.Dogry-โดกรี
bullet93.Telugu-เตลูกู
bullet94.bis-ทวิ
bullet95.Tajik-ทาจิก
bullet96.Tatar-ทาทาร์
bullet97.Tigrinya-ทีกรินยา
bullet98.Check-เชค
bullet99.Mambara-มัมบารา
bullet100.Bulgaria-บัลแกเรีย
bullet101.Basque-บาสก์
bullet102.Bengal-เบงกอล
bullet103.Belarus-เบลารุส
bullet104.Pashto-พาชตู
bullet105.Fritian-ฟริเชียน
bullet106.Bhojpuri-โภชปุรี
bullet107.Manipur(Manifuri)-มณีปุระ(มณิฟูรี)
bullet108.Maltese-มัลทีส
bullet109.Marathi-มาราฐี
bullet110.Malayalum-มาลายาลัม
bullet111.Micho-มิโช
bullet112.Maori-เมารี
bullet113.Maithili-ไมถิลี
bullet114.Yidsdish-ยิดดิช
bullet115.Euroba-ยูโรบา
bullet116.Lingala-ลิงกาลา
bullet118.Slovenia-สโลวีเนีย
bullet119.Swahili-สวาฮิลี
bullet120.Sanskrit-สันสกฤต
bullet121.history107-history107
bullet122.Amharic-อัมฮาริก
bullet123.Assam-อัสสัม
bullet124.Armenia-อาร์เมเนีย
bullet125.Igbo-อิกโบ
bullet126.History115-ประวัติ 115
bullet127.history117-ประวัติ117
bullet128.Ilogano-อีโลกาโน
bullet129.Eve-อีเว
bullet130.Uighur-อุยกูร์
bullet131.Uradu-อูรดู
bullet132.Esperanto-เอสเปอแรนโต
bullet133.Albania-แอลเบเนีย
bullet134.Odia(Oriya)-โอเดีย(โอริยา)
bullet135.Oromo-โอโรโม
bullet136.Omara-โอมารา
bullet137.Huasha-ฮัวซา
bullet138.Haitian Creole-เฮติครีโอล
bulletคำบูชาพระรัตนตรัย ทำวัตรแปล เช้า-เย็น
bulletChart Showing the Process
bulletบุคคลแห่งปีของหนังสือพิมพ์ดี พ.ศ.2540 - 2566
bulletบุคคลแห่งปีของหนังสือพิมพ์ดี 1
bulletบุคคลแห่งปีของหนังสือพิมพ์ดี 2
bulletบุคคลแห่งปีของหนังสือพิมพ์ดี บุคคลที่ 1 - 188 ปัจจุบัน
bulletหนังสือพิมพ์ดี
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 1
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 2
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 3
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 4
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 5
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 6
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 7
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 8
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 9
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 10
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 11
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 12
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 13
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 14
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 15
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 16
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 17
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 18
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 19
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 20
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 21
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 22
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 23
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 24
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 25
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 26
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 27
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 28
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 29
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 30
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 31
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 32
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 33
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 34
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 35
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 36
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 37
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 38
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 39
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 40
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 41
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 42
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 43
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 44
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 45
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 46
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 47
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 48
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 49
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 50
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 51
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 52
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 53
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 54
bulletหนังสือพิมพ์ดี เล่มที่ 55
bulletหนังสือพิมพ์ดีเล่มที่ 56
bulletหนังสือพิมพ์ดีเล่มที 57
bulletหนังสือพิมพ์ดีเล่มที 58
bulletหนังสือพิมพ์ดีเล่มที 59
bulletTo The World
bulletENGLISH
bulletUSA
bulletChina
bulletIndia
bullet Mynmar
bullet Cambodia
bullet Loas
bulletSri Lanka
bulletMalaysia
bulletKorea
bulletA Sharp Turn of Believes : Iresearch Iwrite Iread
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 1
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 2
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 3
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 4
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 5
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 6
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 7
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 8
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 9
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 10
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 11
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 12
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 13
bulletศึกษาโลกลี้ลับภาค 14
bulletMystery Report 15
bulletMystery Report 16
bulletMystery Report 17
bulletMystery Report 18
bulletMystery Report 19
bulletMystery Report 20
bulletMystery Report 21
bulletMystery Report 22
bulletMystery Report 23
bulletMystery Report 24
bulletMystery World Report 25
bulletศึกษาโลกลี้ลับ 26
bulletเฝ้าดูวัฒนธรรมโลกจากจอแก้ว วิเคราะห์ทุกปัญหาในโลกมนุษย์ด้วยสติปัญญาและเหตุผลวิทยาศาสตร์จากนสพ.ดี
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2536
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2537
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2538
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2539
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2540
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2541
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2542
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2543-2545
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2545-2549
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2549-2550
bulletเฝ้าดูฯ พ.ศ.2550-ส.ค.2551
bulletเฝ้าดูฯ ส.ค.-ก.ย.2551
bulletเฝ้าดูฯ ก.ย.2551- ธ.ค. 2551
bulletเฝ้าดูฯสำนวนพัชรา กอปรทศธรรม
bulletสำนวนพัชราตอนที่ 16-27
bulletสำนวนพัชราตอนที่ 29
bulletบทความใหม่ เม.ย.-พ.ค.2552
bulletพุทธธรรมเพื่อทางดับทุกข์
bulletทฤษฎีการดับทุกข์ทางจิต วิปัสสนากรรมฐานโดยการทำงาน(สำนวนปรับปรุงใหม่)
bulletประวัติพัชรา กอปรทศธรรม
bulletประวัติการต่อสู้เพื่อการดับทุกข์ ของพัชรา กอปรทศธรรม
bulletอัลบั้มรูป history
bulletนิทานธรรมะประยุกต์ มานุสสาสุระสงคราม 4 ภาค และอื่น ๆ
bulletอัลบั้มรูป ภาพในอดีตและชีวประวัติศาสตร์ที่สวยงาม
bulletจากเวบบอร์ด พูดกันไม่รู้เรื่อง ประชาธิปไตยล้าหลัง
bulletศาสนาสากล การวิเคราะห์ความหมาย
bulletปลอบใจ
dot
รวมบทวิเคราะห์กม.คณะสงฆ์ แนวปฏิรูปคณะสงฆ์อยู่ในบทวิเคราะห์นี้แล้ว
dot
bulletรวมบทวิเคราะห์กม.คณะสงฆ์
dot
สากลจักรวาล สากลศาสนา แนวคิดศาสนาสำหรับคนยุคใหม่ ผู้ก้าวผิดทางไปสู่สิ่งไร้สาระโดยไม่รู้ตัว
dot
bulletสากล...ศาสนา 1
bulletสากล...ศาสนา 2
bulletสากล...ศาสนา 3
bulletสากล...ศาสนา 4
bulletสากล...ศาสนา 5
bulletสากล...ศาสนา 6
bulletสากล...ศาสนา 7
bulletสากล...ศาสนา 9
bulletสากล...ศาสนา 8
bulletสากล...ศาสนา 10
bulletสากล...ศาสนา 11
bulletสากล...ศาสนา 12
bulletสากล...ศาสนา 13
bulletสากล...ศาสนา 14
bulletสากล...ศาสนา 16
dot
ส่วนข้อมูลสำคัญเพื่อการวิจัยการเมืองไทยยุค คมช.-รัฐบาลอภิสิทธิ์
dot
bulletข้อมูลสำคัญยุคคมช.-รัฐบาลอภิสิทธิ์
bulletรายงานสดม็อบสนธิ-จำลอง-ปชป.เป่านกหวีดวันที่1/26ส.ค.2551
bulletรายงานสดม็อบสนธิ-จำลอง-ปชป.เป่านกหวีดวันที่2/27ส.ค.2551
bulletใบปลิว อีเมล์ ในหลวงทรงร้องไห้
bulletข่าวการเมืองแฟ้ม 1
bulletในหลวงเพิ่งทราบข่าวฆ่าประชาชน10เมย.53ทรงร้องไห้
bulletบันทึกลับเสื้อแดงผู้รอดชีวิตจากทำเนียบรัฐบาล
bulletบันทึกลับเสื้อแดงผู้รอดชีวิตจากทำเนียบรัฐบาล
dot
รวมข่าวม็อบการเมืองสนธิ-จำลอง-ปชป.มิ.ย.51-เม.ย.52 นสพ.
dot
bulletข่าวการเมืองแฟ้ม 2
bulletข่าวการเมืองแฟ้ม 3
bulletรวมข่าวม็อบ30มิ.ย.51-23มี.ค.52
bulletเลือดศรีสะเกษบันทึกเรื่องราวรอบด้านเกี่ยวกับเขาพระวิหาร
bulletรายงานการโฆษณาชวนเชื่อในประเทศไทยที่ล้มล้างรัฐบาลทักษิณ
bulletหนังสือพิมพ์ดี ของฟรีให้เปล่ามา20ปีแล้วทั้งเอกสารและอินเทอเนท
bulletหนังสือพิมพ์ดี ( อินเทอเนต ) เล่ม 1 - 44 - ล่าสุด
bulletหน้าที่เก็บไว้
bulletมูลนิธิพระเทพวรมุนี(เสน ปญฺญาวชิโร)
bulletวัดมหาพุทธาราม ศรีสะเกษ บันทึกเหตุการณ์
bulletสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดศรีสะเกษแห่งที่ 1
bulletเกี่ยวกับเวบไซต์ของเรา เราทำเพื่อปัญญาชนโดยแท้
bulletรวมกระทู้เด็ดจากกระดานถามตอบ
bulletคาถาอาคมไสยศาสตร์
bulletกวีนิพนธ์ใหม่
bulletศูนย์ปฏิญญาณละเลิกอบายมุข บัญชีที่ 1- 4


ท่านยังไม่รู้จักพุทธทาสภิกขุ

คอลัมน์กัลยาณมิตร
ท่านยังไม่รู้จักพุทธทาสภิกขุ 7

 

หนังสือ พุทธทาสลิขิต ฉบับลายมือ ของ พุทธทาสภิกขุ พิมพ์ครั้งแรกในวันพุทธทาส 27 พฤษภาคม 2541 โรงพิมพ์เม็ดทราย โทร. 882-5492-3 จัดพิมพ์ (จำนวน 4,500 เล่ม)

เป็นหนังสือเล่มพิเศษที่ไม่เคยมีการจัดพิมพ์มาก่อน บัดนี้คณะศิษย์ ร่วมกับมูลนิธิพุทธทาส คณะธรรมทาน และสำนักพิมพ์สุขภาพใจ ร่วมอำนวยการจัดพิมพ์ขึ้น ในเล่ม เป็นลายมือของท่านพุทธทาสตั้งแต่ต้นจนจบ ฉบับปกแข็ง จำนวนถึง 487 หน้า เปิดหน้าต้น ๆ และหน้าสุดท้าย มีลายมือท่าน ข้อความสำคัญว่า “คุณย่าคุณปู่คุณยายคุณตาลูกหลานจะลาไปก่อนแล้ว ขอฝากพินัยกรรมเหล่านี้ไว้ให้ด้วยความรัก โปรดพิจารณาเป็นอย่างดีด้วยเถิด.”

ท่านบอกว่าเป็นพินัยกรรมนั้นก็เป็นที่เข้าใจกัน เพราะข้อเขียนทุกชิ้นของท่านล้วนเป็นพินัยกรรมที่ล้ำค่าทั้งสิ้น แต่สิ่งที่ท่านบอกให้ พิจารณาเป็นอย่างดี นั่นคืออะไร และอย่างไร เป็นพิเศษ

เราจะลองเข้าไปในหนังสือเล่มนี้ และพาท่าน พิจารณา ดู ว่ามีอะไรยอดเยี่ยมและยอดเยี่ยมที่สุด เราจะผ่านคำปรารภต่าง ๆ ไปจนถึงหน้าสารบาญ เราอ่านอย่างอ่านแผนที่ที่นี่ ก็พบว่า มีเรื่อง พินัยกรรม อยู่หน้า 1-50 เรื่องความลับสุดยอด อยู่หน้า 51-81 มีเรื่องธรรมะโดยหลักพื้นฐาน อยู่หน้า 82-111 มีเรื่องความคิดนึกชั่วขณะที่ต้องรีบบรรทึกไว้ก่อน : แต่จะลืมเสีย อยู่หน้า 112-432 และเรื่องสุดท้าย ปกิณกะ อยู่หน้า 433-487

ล้วนแต่น่าดูน่าชมทั้งสิ้น

แต่เราพอใจที่จะพูดสั้น ๆ จับเอา สิ่งที่เราคิดว่าเป็นหัวใจ ที่ยอดเยี่ยมที่สุดของเรื่อง (ซึ่งแน่ละอาจจะไม่ตรงกับมติของนักปราชญ์อื่นหลายท่านก็ได้ )

เรื่องพินัยกรรม ท่านบอกไว้เองเลยว่า “บางอย่างขอให้ช่วยคิดต่อ,ให้ช่วยวิพากษ์วิจารณ์” -บรรทัดสุดท้ายหน้า 8 “ลึก” “ยากที่จะมองเห็นมันอยู่หลายอย่าง”

พินัยกรรมในที่นี้คือสุดยอดของพระธรรมที่ท่านได้พบเอง การเปิดเผยสิ่งนี้เท่ากับเปิดเผยความลับของตัวท่านเอง เท่ากับบอกคุณภาพตัวท่านเองให้คนรู้ว่าแท้จริงตัวตนของท่านเป็นอย่างไร

เอาธรรมะข้อความเดียว หน้า 9

“จิตเคยว่างชนิดที่วุ่นได้ (ปภัสรจิต) แล้วก็วุ่น (จนว่างไม่ปรากฎ) (สังขารคตจิต) แล้วก็ทำให้เป็นจิตว่าง, ไม่วุ่นได้อีก (วิสุทธิจิต) ก็จบหน้าที่ของชีวิต หรือพรหมจรรย์”

นี่คือประเด็นสำคัญสุดยอดแห่งความเป็น พุทธทาสภิกขุ

จะขอแปลด้วยภาษาคนง่าย ๆ ว่า เมื่อใดทำจิตให้ว่าง คือเป็นจิตบริสุทธิ์จากกิเลส ไม่กลับมาวุ่นได้อีก ไม่กำเริบอีก ก็จบหน้าที่ของชีวิต หรืออยู่จบพรหมจรรย์ลง (อกุปฺธมฺโม=ธรรมะที่ไม่กลับกำเริบอีก)

“จิตเคยว่างชนิดที่วุ่นได้” นั่นก็คือยังไม่ถึงระดับที่อยู่จบพรหมจรรย์ ที่อาจกล่าวได้ว่า “จบหน้าที่ของชีวิต” แล้ว นั่นเอง (เป็นจิตพระอริยบุคคลระดับล่าง ๆ หรือแม้จิตปุถุชนก็เป็นได้) ต่อเมื่อพัฒนาไป(คือตั้งหน้าประพฤติธรรมต่อไป) จนจิตนั้นบริสุทธิ์ไม่กลับมาวุ่นได้อีก นั่นแหละเป็น อยู่จบพรหมจรรย์ ฉะนั้น เราจึงอาจกล่าวได้ว่านี่คือที่มาที่ไปของคำสอนเรื่องจิตว่างของท่านพุทธทาสภิกขุ ที่เน้นว่าเรื่องนิพพานนั้นมีกันได้อยู่แล้วทุกคน ๆ ลองชิมดูเมื่อไรก็ได้ หากแต่คนทั่ว ๆ ไปนั้นยังหาอาจว่างได้โดยนิรันดรไม่ ต่อเมื่อว่างได้นิรันดร คือไม่กลับกำเริบอีก ก็จะถึง อยู่จบพรหมจรรย์ จบหน้าที่ของชีวิตแล้ว สุดสายทางแห่งมรรคผลในพระพุทธศาสนา (คือบรรลุธรรมสูงสุด ชั้น อรหัตผล นั่นเอง)

ย่อหน้าต่อ ๆ ไปในหน้า 9 ก็ล้วนเป็นข้อความที่อธิบายขยายความบทแรกนี้ให้กระจ่างขึ้น เพื่อความเข้าใจเพิ่มเติม ลองอ่านต่อไป

“อาทิพรหมจรรย์ คือศึกษาและปฏิบัติปฏิจจสมุปบาท,(ดังที่ตรัสว่า บัญญัติแต่ทุกข์กับความดับทุกข์เท่านั้น), นั่นคือควบคุมผัสสะ ให้ได้ ให้เป็น วิชชาสัมผัสอยู่เสมอ ปริโยสานพรหมจรรย์ คือ ดับตนดับทุกข์”

เคยวิเคราะห์แล้วว่า ผัสสะในทัศนะของท่านพุทธทาส เป็นทั้งเบื้องต้นและเบื้องปลายของหลักธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนา (โปรดดู : ท่านยังไม่รู้จักพุทธทาสภิกขุ 5 ใน ดี เดือน ธ.ค.40 หน้า 36-38 ) แต่วิชชาสัมผัส หรือ ผัสสะ นี้เป็นเครื่องมือ หรือวิธีการ หรือ ข้อปฏิบัติ ในแนวทางการบรรลุด้วยปัญญาของท่านพุทธทาสภิกขุ (มิจำเป็นต้องเอาศีลเป็นบาทฐานก่อน แต่หัดเอาปัญญามาก่อน กลับกัน จาก ศีล สมาธิ ปัญญา เป็น ปัญญา สมาธิ ศีล) หมายความว่า ท่านผู้ปฏิบัติธรรมจะต้องหมั่นควบคุมระวังหูตาจมูกลิ้นกายใจ อันเป็นประตูทั้งหกนี้อยู่เสมอ ในชีวิตประจำวันนี้เอง หรือแม้การตั้งใจปฏิบัติธรรมโดยตรงก็ทำโดยการเฝ้าดูเรื่องผัสสะนี้ ให้เห็นให้เข้าใจกระบวนการแห่งอายตนภายนอกที่ถูกลำเลียงเข้าสู่อายตนภายใน แล้วเกิดการปรุงแต่งขึ้นแล้วเป็นไปต่าง ๆ อย่างไร อย่างนั้น ๆ เป็นเหตุให้เกิดอะไร แล้วเป็นผลอะไร ๆ แล้วกลับเป็นเหตุต่อไปอีกอย่างไร ๆ ให้เข้าใจว่ากระบวนการเหล่านี้ประสานกันจนเป็นลูกโซ่แห่งอิทัปจยตาไปอย่างไรนั่นเอง

สุดยอดของความเข้าใจเรื่องผัสสะ ดูเหมือนท่านไม่ได้แย้มเอาไว้ แต่เก็บเป็นความลับไว้ ให้ผู้ที่ศึกษารู้เอง (และที่สำคัญให้เป็นสิ่งทดสอบตัวเองว่าถึงพระธรรมแล้วจริง สามารถแก้โจทก์ที่พลิกแพลง สลับซับซ้อนไปได้ด้วยตัวเอง ไม่ใช่เป็นเพียงผู้รู้ดีตามตัวหนังสือ แต่ที่แท้เป็นเพียงคนประเภท คุยเสียดีที่แท้แพ้กิเลส) และนั่นก็คือ เมื่อเราเอาคำว่า “จิต” หรือ “ใจ” ออกไปได้ เมื่อนั้นจะเข้าใจเรื่องผัสสะ ว่าเป็นสุดยอดจริง ๆ เป็นที่จบจริง ๆ ตายก่อนตายได้จริง ๆ เป็นเรื่องของ อิทัปปัจจยตาจริง ๆ เท่านั้นเอง

ดูบทที่เสริมต่อไปอีก หน้า 9 นั่นเอง

“ระวัง ใช้ประโยชน์จาก โอปปาติกโยนิให้ได้ ให้เกิดเป็นปัณฑิตให้ได้ในทุกกรณี มีจิตว่าง จากการเป็นอะไรในทุกกรณี, มีแต่กาย+จิตทำหน้าที่อย่างถูกต้องตามกฎของธรรมชาติในทุกความหมาย”

ท่านเน้นว่า “ให้มีจิตว่างจากการเป็นอะไร ในทุกกรณี” นี่คือวิธีปฏิบัติ พยายามทำอย่างที่บอก คือทำให้จิตว่างตลอดเวลา ว่างหมายถึง ว่างจากการคิดว่าเราเป็นนั่นเป็นนี่ เราใหญ่อย่างนั้นอย่างนี้ เราเล็กอย่างนั้นอย่างนี้ ว่างจากปมด้อยปมเด่นทั้งหลาย ว่างจากความคิดนึกที่เป็นไปตามกิเลส ฯลฯ ในทุกกรณี หมายถึงทุกกาละเทศะ ทุกเหตุการณ์ ทุกสิ่งแวดล้อม ทุกสถานการณ์ ไม่ว่าร้ายแรงหรือสงบสันติเพียงใด หากวางตัวว่างได้ก็สำเร็จ อยู่จบได้ นี่คือเคล็ดลับ ที่เป็นทางปฏิบัติตามแนวของท่านพุทธทาสภิกขุ แนวที่กลับเอา ปัญญา นำ สมาธิ ศีล เป็นตัวเสริม ซึ่งจะเห็นว่าเหมาะสำหรับยุคที่เร่งรีบ

เราจะไปค้นหาดูว่าในบทที่กล่าวถึง “ความลับสุดยอด” ว่ามีข้อความลับอันใด ที่อาจรับรอง สอดคล้องกับบทที่กล่าวมา หรือไม่ เพียงใด

ดูวรรคต้น ในหน้า 55 ความลับสุดยอด

“ธรรมชาติไม่ได้สร้างชีวิตมาอย่างตายตัว เป็นบุญ-บาป, ดี,ร้าย, กุศล-อกุศล หากแต่เป็นไปตามกฎอิทัปป. แล้วแต่ใครจะสร้างมันอย่างไร”

บทนี้ กลับเป็นบทที่เสริม พินัยกรรมนั้น เรื่องบุญเรื่องบาป เรื่องกรรม กฎแห่งกรรม จึงเป็นเพียงหลักธรรมชั้นตื้นต่ำแห่งพระพุทธศาสนา หลักที่ยอดเยี่ยมจึงเป็น กฎอิทัปปัจยตา

ดู บทต่อไปหน้า 55 นั้น

  • เรื่องเพศสร้างมาสำหรับมนุษย์-สัตว์-พฤกษ์-ไม่-สูญพันธุ์ ไม่ใช่ของขวัญที่ใครจะเรียกร้อง บูชาในฐานะสูงสุด.
  • การล้างบาป การยกเลิกกรรม ทำได้แต่โดยการกระทำให้ถูกต้องตามกฎ อิทัปป. มิใช่โดยพิธีรีตอง หรืออำนาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ใด ๆ
  • สิ่งมีชีวิต ท.อยู่ได้ด้วยอาหาร ไม่ว่าในแง่ของ กาย-จิต-วิญญาณ คำว่า “สัตว์” ควรมีความหมายว่า “ข้อง”อยู่ในความมีชีวิตตามกฎอิทัปป.
  • กามารมณ์ เป็นค่าจ้างทางเพศหรือเพื่อการสืบพันธุ์ของ ธ.ช.ธรรมชาติ ; มิใช่ของขวัญหรือหรรษทานแต่ประการใด; เลิกบูชากันเสียเถิด.

(บทนี้ ท่านมองไปถึงฝรั่งอเมริกัน ฝรั่งเศส ฝรั่งอังกฤษ ฝรั่งตาน้ำข้าวทั้งหลาย ที่นิยมกามกันจนจักระบาดเป็นพิษเป็นภัยแด่โลก อย่างที่ปรากฎขึ้นมาแล้วในขณะนี้)

  • พวกที่ถือพระเจ้า ถือว่าอะไร ๆ ก็แล้วแต่พระเจ้า, ส่วนชาวพุทธถือว่า ก็แล้วแต่กฎอิทัปปัจยตา, ดังนั้น ควรทำความเข้าใจเกี่ยวกับคำว่า พระเจ้ากันเสียให้ถูกต้อง.
  • การได้เกิดมามีชีวิตยังไม่ควรจัดว่าบุญหรือบาป, แค่ยังกลาง ๆ อยู่; แล้วแต่ว่าเราจะจัดให้เป็นอย่างไร,หรือจะให้พ้นบุญบาปไปเลยก็ได้
  • อัสสาทะของ กิน-กาม-เกียรติ เป็นสิ่งหลงกันเกินไปจนเกิดปัญหา ที่แท้มันมีอาทีนวะโดยเท่ากัน; เอามันมาใช้เป็นกำลังงานทำความรอดดีกว่า
  • มนุษย์ที่ไม่เข้าถึง ไม่รู้ความลับสุดยอดของมนุษย์ จะเป็นมนุษย์ไปได้อย่างไร, มนุษย์คือผู้อาจมีจิตใจสูงอยู่เหนือปัญหาหรือความทุกข์ชนิดที่กำลังมีอยู่
  • มนุษย์ไม่ควรบูชาอะไรนอกจากความถูกต้องของความเป็นมนุษย์เอง คือความมีจิตอยู่เหนือปัญหาหรือความทุกข์ ทุกประการจริง ๆ.

จากบทนี้ไป เป็นบันทึกต่อไปอย่างค่อนข้างมากมายหลายข้อ หลายบท มากจนท่านเองเสริมไว้หน่อย หน้า 61 ว่า “ความลับสุดยอด (ทำไมมากมายเสียจริง, อ้ายโง่)" ที่ท่านว่า อ้ายโง่ นั้น เป็นธรรมะ ไม่ใช่ด่าผู้ใด เพราะ ถ้าเราฉลาดมีปัญญามาก ความลับก็มีน้อยหรือไม่มีเลย(ของวิเศษ ที่เคยคิดว่าวิเศษ ก็กลายเป็นของธรรมดาเมื่อรู้แล้ว) แต่ถ้าเราโง่ ความลับก็มีมากมายมหาศาล (เหมือน แต่ก่อน ๆ คนเรายังโง่ คนก็กลัวนั่นกลัวนี่มาก กลัวแม้กระทั่งดวงอาทิตย์ กลัวแม้กระทั่งต้นไม้ใหญ่ ๆ ภูเขาสูง ๆ กลัวลม น้ำ ดิน ไฟ ความลับสำหรับคนโง่จึงย่อมจะมีมากกว่าคนฉลาดมีปัญญา ดังอาจสังเกตจากลัทธิประเพณีต่าง ๆ ของมนุษย์ ที่มีมากมายหลายหลาก ก็ล้วนกำเนิดมาจากความโง่ของมนุษย์นั่นเอง

ความลับสุดยอดบทท้าย ๆ

  • “ทางสังคม เพิ่มวัยรุ่น อันธพาล, คนโรคประสาท-จิต,อาชญากรรมนานาชนิด ข้าราชการ-ครูอาจารย์โกง, พระอลัชชี,

ส่วนบุคคล.

  • เป็นโรคจิต, โรคประสาท, เพราะรบกวน ทรมาน ทางจิต. ฆ่าตัวตาย, เพราะปัญหาเศรษฐกิจ. อาชีพ-สุขภาพ-ครอบครัว-สังคม-เพศ-วิกลจริต.”

หนังสือเล่มนี้ พุทธทาสลิขิต มีอะไรพิเศษ เกินกว่าจะพูดให้จบในคราวเดียวได้ อย่างไรก็ตามประเด็นสำคัญอยู่ที่พินัยกรรมของท่านนั้นเอง

แต่ท่านอาจจะไม่เข้าใจว่า คำสอนที่สำคัญ อันเกี่ยวกับทางปฏิบัตินั้น ท่านเองมิได้ปฏิบัติมาอย่างนี้ แต่นี่เป็นสิ่งที่ท่านกล่าวขึ้นภายหลัง เมื่อท่านมองเห็นว่าเป็นทางที่ง่ายและตรงกว่า หากปฏิบัติตามจักได้ผลเร็วกว่าแบบที่ท่านเคยปฏิบัติมา เช่น “ให้มีจิตว่างจากการเป็นอะไรในทุกกรณี” “ควบคุมผัสสะให้ได้ ให้เป็นวิชาสัมผัสอยู่เสมอ” อันเป็นวิธีที่ทุกคนสามารถฝึกปฏิบัติไปได้เองโดยง่าย

แต่หากจะถามว่า ท่านพุทธทาสท่านปฏิบัติมาอย่างไร ก็ต้องขอเชิญชวนให้พลิกดูหนังสืออีกเล่มหนึ่งของท่าน คือ “พุทธทาส อนุทินปฏิบัติธรรม ศึกษาชีวิตอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ บันทึกรายวันขณะฝึกฝนตนอย่างเข้มข้นในวัยหนุ่ม” คำว่า “อย่างเป็นวิทยาศาสตร์” นี่แหละที่บอกที่ไปที่มาแห่งบุคคลิกภาพรวมถึงจุดยืนอันมั่นคงของท่านพุทธทาสต่อหลักการแห่งพระพุทธศาสนา ว่าพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่พิศูจน์ได้ในแนววิทยาศาสตร์ และจะอยู่ตรงข้ามกับเทวศาสตร์หรือไสยศาสตร์เสมอไป

หนังสืออนุทินฯ จะบอกว่าท่านพุทธทาสได้เอาตัวเองไปฝึกฝนและทดลองอย่างเข้มอย่างมีข้อสมมติฐานมีหลักมีเกณฑ์แบบวิทยาศาสตร์เพียงใด และน้อยนักที่จักเข้าใจว่า ท่านปฏิบัติไปด้วยความยากลำบากไม่แพ้วิธีปฏิบัติแนวอื่นใดเลย แต่ผลนั้นนำไปสู่การบรรลุภูมิปัญญาอันยิ่งใหญ่ยากแก่การที่จักเปรียบกับท่านผู้ใดได้.




หนังสือพิมพ์ดีเล่มที่ 12

อาศิรวาทราชินิสดุดี
หน้าบอกสถานะของเรา
สัญลักษณ์ของเรา ภาพนกขาว เราจะบิน บิน บิน และบินไป
พุทธทำนาย เดือนสี่ปีกุน
คอลัมน์บันทึกการท่องเที่ยว : ลายมือของท่านพุทธทาสภิกขุ
บทบรรณาธิการ
เฝ้าดูวัฒนธรรมโลกจากจอแก้ว
รายงานผลการสำรวจความคิดเห็นของผู้อ่านต่อระบบสงฆ์ปัจจุบัน(ต่อ)
ประชาธิปไตยสงฆ์ จะปฏิรูปอย่างไร?
ปัญหาความไม่เป็นธรรมในการแต่งตั้งสมณศักดิ์ พระพุทธรูปปางเหยียบโลก
นิทานธรรมะ มานุสสาสุรสงคราม ภาค 1



Copyright © 2010 All Rights Reserved.
----- ***** ----- โปรดใช้บริการการแปลของ Google Translate นี่คือเวบไซต์คู่ www.newworldbelieve.com กับ www.newworldbelieve.net เราให้เป็นเวบไซต์ที่เสนอธรรมะหรือ ความจริง หรือ ความคิดเห็นในเรื่องราวของชีวิต ตั้งใจให้ธัมมะเป็นทาน ให้สิ่งที่เป็นประโยชน์แด่คนทั้งหลาย ทั้งโลก ให้ได้รู้ความจริงของศาสนาต่าง ๆในโลกวันนี้ และได้รู้ศาสนาที่ประเสริฐเพียงศาสนาเดียวสำหรับโลกยุคใหม่ จักรวาลใหม่ เรามีผู้รู้ ผู้ตรัสรู้ ผู้วินิจฉัยสรรพธรรมสรรพวิชชา สรรพศาสน์ และสรรพศาสตร์ พอชี้ทางสู่โลกใหม่ ให้ความสุข ความสบายใจความมีชีวิตที่หลุดพ้นไปสู่โลกใหม่ เราได้อุทิศเนื้อที่ทั้งหมดเป็นเนื้อที่สำหรับธรรมะทั้งหมด ไม่มีการโฆษณาสินค้า มาแต่ต้น นับถึงวันนี้ร่วม 14 ปีแล้ว มาวันนี้ เราได้สร้างได้ทำเวบไซต์คู่นี้จนได้กลายเป็นแดนโลกแห่งความสว่างไสว เบิกบานใจ ไร้พิษภัย เป็นแดนประตูวิเศษ เปิดเข้าไปแล้ว เจริญดวงตาปัญญาละเอียดอ่อน เห็นแต่สิ่งที่น่าสบายใจ ที่ผสานความคิดจิตใจคนทั้งหลายด้วยไมตรีจิตมิตรภาพล้วน ๆ ไปสู่ความเป็นมิตรกันและกันล้วน ๆ วันนี้เวบไซต์นี้ ได้กลายเป็นโลกท่องเที่ยวอีกโลกหนึ่ง ที่กว้างใหญ่ไพศาล เข้าไปแล้วได้พบแต่สิ่งที่สบายใจมีความสุข ให้ความคิดสติปัญญา และได้พบเรื่องราวหลายหลากมากมาย ที่อาจจะท่องเที่ยวไปได้ตลอดชีวิต หรือท่านอาจจะอยากอยู่ณโลกนี้ไปชั่วนิรันดร ไม่กลับออกไปอีกก็ได้ เพียงแต่ท่านเข้าใจว่านี่เป็นแดนต้นเรื่องเป็นด่านข้ามจากแดนโลกเข้าไปสู่อีกโลกหนึ่ง และซึ่งเป็นโลกหรือบ้านของท่านทั้งหลายได้เลยทีเดียว ซึ่งสำหรับคนต่างชาติ ต่างภาษาต่างศาสนา ได้โปรดใช้การแปลของ กูเกิล หรือ Google Translate แปลเป็นภาษาของท่านก่อน ที่เขาเพิ่งประสบความสำเร็จการแปลให้ได้แทบทุกภาษาในโลกมนุษย์นี้แล้ว ตั้งแต่ต้นปีนี้เอง นั้นแหละเท่ากับท่านจะเป็นที่ไหนของโลกก็ตาม ทั้งหมดโลกประมาณ 7.6 พันล้านคนวันนี้ สามารถเข้ามาท่องเที่ยวในโลกของเราได้เลย เราไม่ได้นำท่านไปเที่ยวแบบธรรมดาๆ แต่การนำไปสู่ความจริง ความรู้เรื่องชีวิตใหม่ การอุบัติใหม่สู่ภาวะอริยบุคคล ไปสู่การเปลี่ยนแปลงไปพ้นจากทุกข์ ทั้งหลายไปสู่โลกแห่งความสุขแท้นิรันดร คือโลกนิพพานขององค์บรมศาสดาพุทธศาสนา พระบรมครูพุทธะ องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพียงแต่ท่านโปรดใช้บริการการแปลของ Google Translate ท่านก็จะเข้าสู่โลกนี้ได้ทันทีพร้อมกับคน7.6พันล้านคนทั้งโลกนี้. ----- ***** ----- • หมายเหตุ เอาขึ้นเวบไซต์ แทนของเดิม ทั้ง 2 เวบ .net .com วันที่ 21 เม.ย. 2565 เวลา 07.00 น. -----*****-----